Page 49 - CultureMag2015-3
P. 49

< งกู นิ หางยังคงเปน็ การละเล่นท่เี ดก็ ๆ
ในทอ้ งถิน่ ตา่ งๆ นยิ มเลน่ กัน
เพราะไม่ต้องใชอ้ ปุ กรณอ์ ะไรมาก
มเี พียงทโ่ี ลง่ กับเดก็ ๆ ก็พอแลว้

(ภาพ : วิจติ ต์ แซ่เฮ้ง)

       จากน้ันก็จะเจรจาอีกสองรอบเป็นอย่างน้อย โดย
เปลย่ี นนำ�้ บอ่ หนิ เปน็  บอ่ ทราย  บอ่ โศก ฯลฯ โดยลกู งกู จ็ ะรอ้ ง
รับว่า “ย้ายไปก็ย้ายมา” และ “โยกไปก็โยกมา” ตามล�ำดับ
และเมอ่ื ใดแมง่ ถู ามวา่  “กนิ หวั หรอื กนิ หาง”  แลว้ สน้ิ เสยี งตอบ
จากพ่องูว่า “กินกลางตลอดตัว” แล้วละก็  ความสนุกในการ
ทแี่ มง่ จู ะพาลกู งวู งิ่ หนพี อ่ งทู ไ่ี ลจ่ บั  โดยไมใ่ หล้ กู งหู ลดุ ขาดออก
จากที่จับกันไว้ ก็จะสร้างความเร้าใจให้เกิดข้ึน บางคร้ังว่ิงไล่
กนั จนฝุ่นตลบเป็นท่คี รืน้ เครงทั้งต่อผเู้ ลน่ และผูพ้ บเห็น

งคูกวนิามหหางม า: ยและส�ำนวน

       พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ 
มอี รรถาธบิ ายถึง งูกินหาง ไวส้ ามลกั ษณะ 

       “งูกลืนหาง, งูกินหาง ๑ น. ช่ือกลอนกลอักษรวรรค
หน่ึงๆ ต้องมีค�ำซ้�ำกัน ๓ คู่ คือระหว่าง ๓ ค�ำหน้ากับ ๓ ค�ำ
สุดท้ายของวรรค แต่เวลาเขียนจะตัดคำ� ซ้�ำ ๓ ค�ำสุดท้ายของ
แต่ละวรรคออก เวลาอ่านให้อ่านไปจนจบวรรค แล้วย้อน 
กลับไปอ่านค�ำที่ ๑ ถึงค�ำที่ ๓ ในวรรคเดียวกันอีกครั้งหน่ึง 
ตัวอย่างว่า ฟังเสียงหวานขานเสียงดัง เหมือนน�้ำตาล 
หวานเตือน เสนาะจริงยิ่งค�ำหวาน อ่านว่า ฟังเสียงหวาน 
ขานเสียงดังฟังเสียงหวาน เหมือนน้�ำตาลหวานเตือนเหมือน
นำ้� ตาล  เสนาะจริงยิ่งค�ำหวานเสนาะจริง. 

       งูกินหาง ๒ น. การละเล่นของเด็กอย่างหน่ึง สมมุติ
ฝ่ายหนึ่งเป็นแม่งู มีลูกงูเกาะหลังเป็นแถว อีกฝ่ายเป็นพ่องู
คอยไลจ่ ับลกู งตู ัวที่อย่ทู ้ายแถวเอามาเป็นพวกทลี ะตัวๆ. 

       งูกินหาง ๓ (สํา) ว. เกี่ยวโยงกันจากหัวถึงหางโดย
ซัดกันไปเป็นทอดๆ.”  

                                 กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘ 47
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54