Page 96 - CultureMag2015-2
P. 96
พิพิธภณั ฑใ์ นประเทศไทยเร่มิ ตน้ จากการสะสมและจดั แสดง แมจ้ ะเน้นหนกั
ทัง้ วัตถุซึ่งประดิษฐ์โดยมนุษย์ (artifact) และสิ่งของทีเ่ ป็น ในยคุ ไดโนเสาร์
ตวั อย่างธรรมชาติ (natural specimen) อนั เป็นพืน้ ฐานสอง ครองพิภพ
ประเภทหลักของพิพิธภัณฑ์ในโลกตะวันตก ซึง่ เป็นทมี่ าของ แตเ่ นือ้ หาทีจ่ ัดแสดง
การก�าหนดประเภทพิพิธภัณฑ์ไว้กว้างๆ เป็นสองประเภท ภายในพพิ ิธภณั ฑ์
คือด้านศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาตวิ ิทยา แต่ดูเหมือนว่า กย็ อ้ นหลงั ไป
แนวทางของงานพิพิธภัณฑ์ทีไ่ ทยเลือกทีจ่ ะพัฒนาในเวลาต่อ นับแตก่ �าเนิดโลก
มา คือการให้ความส�าคัญแก่พิพิธภัณฑ์ทีส่ ะสมและจัดแสดง
ข้าวของประเภทศิลปะและหลักฐานโบราณคดี โดยมีกรม
ศิลปากรเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบส�าคัญ และเป็นต้นแบบให้เกิด
พิพิธภัณฑ์ในแนวทางเดียวกันตามมาอีกเป็นจ�านวนมาก
สว่ นพพิ ธิ ภณั ฑท์ างธรรมชาติวทิ ยาซ่งึ เกบ็ รวบรวมและนา� เสนอ
ส่งิ ของจากธรรมชาติ เชน่ หนิ และแรป่ ระเภทตา่ งๆ ตวั อยา่ ง
สัตว์และพืช ซึ่งเคยมีอยู่ตัง้ แต่ระยะก่อตัง้ พิพิธภัณฑ์ใน
ประเทศไทยกลับมิได้มีการพัฒนาหรือขยายจ�านวนควบคู่ไป
กับพพิ ธิ ภัณฑ์ดา้ นวฒั นธรรมแต่อยา่ งใด
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาจึงดูเหมือนเป็นสิง่ ทถี่ ูกลืม
ไประหว่างเส้นทางการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ในสังคมไทยที่
ยาวนานมากวา่ ศตวรรษ
การพฒั นาพพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมชาติวทิ ยาในประเทศไทยได้
เร่มิ กลบั มาเปน็ ท่สี นใจอยา่ งจรงิ จงั เพยี งเม่อื ไมก่ ่สี บิ ปมี าน้ี จาก
การพบซากไดโนเสารใ์ นภมู ภิ าคตา่ งๆ ของประเทศ โดยเฉพาะ
ในภาคอสี าน อนั นา� ไปสกู่ ารจดั ตง้ั หนว่ ยงานท่ที า� หนา้ ท่ีศกึ ษา
ค้นคว้าซากบรรพชีวินของกรมทรัพยากรธรณีขึ้น ซึ่งต่อมาได้
พัฒนาเป็นพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ในหลายพื้นทีท่ ีม่ ีการค้นพบ
หลักฐานการอยู่อาศัยของสัตว์โลกดึกด�าบรรพ์อายุกว่า
ร้อยลา้ นปชี นดิ น้ี
พิพิธภัณฑ์สิรินธร อ�าเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ
หรอื ท่ีหลายคนรจู้ กั กนั ในช่อื “พิพิธภณั ฑไ์ ดโนเสารภ์ กู มุ้ ขา้ ว”
เพราะตัง้ อยู่บริเวณภูกุ้มข้าวซึง่ เป็นแหล่งทีพ่ บซากกระดูก
ไดโนเสาร์ทเี่ ก็บรักษาไว้โดยพระครูวิจิตรสหัสคุณ เจ้าอาวาส
วดั สกั กะวนั และตอ่ มาไดค้ น้ พบแหลง่ ฟอสซลิ ไดโนเสารก์ นิ พชื
ชนิดใหม่ทีม่ ีความสมบูรณ์ทสี่ ุดในประเทศไทยในบริเวณ
เดยี วกนั ตามนมิ ติ ของทา่ นเจา้ อาวาส กรมทรพั ยากรธรณจี งึ
เข้าไปด�าเนินการขุดค้นและสร้างอาคารคลุมซากฟอสซิล
ไดโนเสารท์ ่ีคน้ พบ เปดิ ใหป้ ระชาชนท่วั ไปเขา้ ชม จากนน้ั จงึ ได้
94 วฒั นธ รม