Page 100 - CultureMag2015-2
P. 100

แ ผ่ น ดิ น เ ดี ย ว

บในว้าดั นพทุ ผธีดร.ประภสัสร์ชวูเิชยีร

“ผ”ี เปน็ คา� ในภาษาไท-ลาว ใชเ้ รยี กพลงั อา� นาจหรอื แทนตวั     ผีอยู่ทีไ่ หน ?
บุคคลทีล่ ่วงลับไปแล้วแต่ยังมีอิทธิพลต่อการด�าเนินชีวิตของ
ผู้คน ไม่เจาะจงว่าเป็นฝ่ายดีหรือชั่วร้าย แต่ให้ภาพของสิ่งที่            สมัยดัง้ เดิมเมือ่ มนุษย์ยังใกล้ชิดธรรมชาติ ผีมักถูก
มองไมเ่ หน็ และถกู จนิ ตนาการขน้ึ เปน็ รปู หรอื อ�านาจแบบตา่ งๆ  ก�าหนดให้สถิตในสถานทเี่ ฉพาะอันเป็นพื้นทีศ่ ักดิ์สิทธิ์ เชน่
ดังจะเห็นได้ว่าตามความเชือ่ ของชาวพืน้ เมืองหลายแห่งนัน้         ภูเขา แม่น�้า ต่อเมือ่ สังคมได้พัฒนาขึน้ จนมนุษย์ตั้งถิ่นฐาน
รู้จักแยกแยะว่ามีทัง้ “ผีดี” และ “ผีร้าย” ทีใ่ ห้คุณให้โทษต่าง   กันเป็นหลักแหล่ง ผีเหล่านีก้ ็ถูกอัญเชิญมาอยู่ในหมู่บ้าน
กันไป                                                            ซึง่ ก็เป็นไปได้ว่าหมู่บ้านนั้นไปตั้งทบั บนทีท่ ีผ่ ีอยู่มาก่อนแล้ว

       ผีดี มักหมายถึงผีบรรพบุรุษ ผีอารักษ์ผู้คุ้มครอง                  สถานทีท่ อี่ ยู่ของผีในชุมชนมีตัง้ แต่ต้นไม้ใหญ่ โคก
พืน้ ทแี่ ละบุคคล การเซ่นสรวงบัดพลีอย่างถูกต้องตามวาระ           เนิน จอมปลวก ในระยะแรกคงอยู่ในรูปการสิงสถิตตาม
จะทา� ให้ผีเหล่านี้พึงพอใจและคุ้มครองป้องกันภัยให้แก่            สถานทนี่ ้นั เฉยๆ แตต่ ่อมาได้พัฒนาข้ึนโดยตง้ั สง่ิ ก่อสร้างใหผ้ ี
ชุมชน เมือ่ มีสิง่ ผิดปรกติเกิดขึน้ กับชีวิตประจ�าวัน เช่น ฝน    อยเู่ ป็นหลักเป็นฐาน เชน่
ฟ้าแปรปรวน พืชผลไม่อุดมสมบูรณ์ ก็ต้องเรียกร้องไปยังผี
โดยใช้พิธีกรรมเป็นเครื่องสื่อสารและบูชา แต่หากฟ้าฝนเป็น                 “ประตหู มบู่ า้ น” ซ่งึ ชาวอาขา่ นบั ถอื วา่ เปน็ “ประตผู ”ี
ปรกติ การเกษตรกรรมได้ผลผลิตมากมาย ก็จ�าต้องแสดง                  ทศี่ กั ดสิ์ ทิ ธิ์ ใครจะจบั ตอ้ งมไิ ด้ และตอ้ งมพี ธิ ีกรรมมากมายใน
ความส�านึกในบุญคุณแก่ผีเช่นกัน ผีแบบนี้ในวัฒนธรรม                การซอ่ มประตูผีกันทุกปี
ไท-ลาวเรียกกนั ว่า “พญาแถน”
                                                                        “ลานกลางหมบู่ า้ น” ชาวลวั ะและกลมุ่ ชาตพิ นั ธอ์ุ ่นื ๆ
       ผีร้าย มักเกิดจากเหตผุ ิดปรกติ เช่นวิญญาณของ              ใช้ลานหรือ “ข่วง” กลางชุมชนเป็นทเี่ ลีย้ งผี มีเสาปักไว้เป็น
ผู้ตายด้วยคมอาวุธ โรคระบาด เช่นผีนัต (nat) หลายต่อ               หลกั มดั สตั วท์ ่จี ะฆา่ เปน็ เคร่อื งสงั เวย จงึ ถอื วา่ เสาน้นั เปน็ ท่อี ยู่
หลายตนของพมา่ หรอื ชาวเขาทางภาคเหนอื มกั ถอื วา่ “ผปี า่ ”       ของผีไปโดยปริยาย ต่อมาเสาแบบนีก้ ็จะกลายมาเป็น “เสา
เป็นผีร้าย ผู้คนจึงมักหลีกเลีย่ งโอกาสทีจ่ ะพานพบกับผี           หลักเมอื ง” นัน่ เอง
เหล่านี้ การกระทา� ของผีร้ายมักจะมาในรูปของหายนภัย
หรืออาการเจ็บไข้ได้ป่วยซึ่งมักจะเชือ่ กันว่ามีผู้ไปรบกวนหรือ            “บนเรือน” ชาวโซ่งหรือไททรงด�าจะมีห้องเล็กๆ
น�าพาเอาผีร้ายจากสถานทีต่ ้องห้ามมา ผู้มีหน้าทแี่ ก้ปัญหา        เรยี กว่า “กว้าน” เป็นทีอ่ ยู่ของผีเรือน ต้องมีพิธเี ลีย้ งผีหรือ
คือ “หมอผี” จะต้องท�าพิธกี รรมปัดรังควานหรือต่อรองกับผี          “เสนเรือน” ทุกปี
ด้วยเครื่องเซ่น เพือ่ ให้ผีเลิกกระทา� จนอาการผิดปรกติหายไป
หากไมไ่ ด้ผลหมอผีจา� เป็นจะต้อง “ปราบผี” ดว้ ยวิธีตา่ งๆ                “ศาล” พบแพร่หลายทีส่ ุด มักสร้างเป็นเหมือนบ้าน
                                                                 ขนาดเล็ก อาจต่อเสาสูงหรือวางเรีย่ กับพื้นดิน และเพราะ
                                                                 เสมือนหนึง่ สร้าง “บ้าน” ให้ผีนีเ้ อง จึงเท่ากับยกระดับ
                                                                 จินตภาพของผีให้มีรูปร่างลักษณะเหมือนกับ “คน” ไปด้วย

98 วฒั นธ รม
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105