Page 93 - CultureMag2015-2
P. 93
ตะลุม่ ท�าหุ่นตะลุ่มเป็นอาชีพ แม้แต่อาจารย์เสน่ห์เองปัจจุบันก็ไม่
ท�าหุ่นตะลุ่มให้ใครอีกเพราะตั้งใจจะใช้เวลาทเี่ หลืออยู่สร้าง
ใช้ใสส่ า� รับอาหารหรอื ส่ิงของตา่ งๆ แทนถาดหรอื พาน ชิ้นงานทุกชิน้ ตั้งแต่ต้นจนสมบูรณ์ เพื่อเป็นมรดกของลูกๆ
มกั มี ๑๐ หรือ ๑๒ เหลย่ี ม และแผ่นดนิ
ทกุ วนั น้พี านแวน่ ฟา้ ตะลมุ่ และเตยี บไมไ่ ดเ้ ปน็ เครอ่ื งใช้
ในชีวิตประจ�าวัน จะเห็นหรือได้สัมผัสเฉพาะเมือ่ มีงานพระ-
ราชพิธี งานบญุ ส�าคญั ๆ ในบางวัด พบเห็นไดต้ ามพิพธิ ภณั ฑ ์
ในร้านขายของทีร่ ะลกึ ในบา้ นของผมู้ ีฐานะท่จี ดั แสดงไว ้
ไมว่ ่าการจัดประเภทของงานศลิ ปน์ จ้ี ะอยใู่ นสาขาหรือ
แขนงใดในงานช่างสิบหมู่ นัน่ คงไม่ใช่สิง่ ส�าคัญเท่ากับความ
ภาคภมู ใิ จของผสู้ รา้ งงาน ดงั ท่ีอาจารยเ์ สนห่ ์ แจม่ จริ ารกั ษ ์ ได้
กล่าวไว้วา่
“ต้นทุนทสี่ ูงจริงๆ อยู่ทใี่ จของคนทา� ผมทา� ด้วย
จติ วญิ ญาณ งานท่ีออกมาวดั คา่ ไมไ่ ด.้ ..ถา้ มคี นสนใจกม็ า
พูดคุยกนั ขึน้ อยู่กับความพอใจทัง้ สองฝ่าย ผมไม่อิง
ราคาตลาด เพราะนไ่ี มใ่ ชง่ านเชงิ พาณชิ ย.์ ..แตค่ อื รากเหงา้
ของคนไทยโดยแท้”
เตียบ อา้ งอิง
ใชใ้ สส่ �ารบั อาหารหรอื ส่งิ ของตา่ งๆ วิศาลศิลปกรรม, หลวง. ต�าราวิชาช่างประดับมุก. พระนคร : ส�านัก
โดยมากคล้ายตะลมุ่ แตม่ ีฝาครอบ วฒั นธรรมทางศิลปกรรม สภาวฒั นธรรมแห่งชาต,ิ ๒๔๙๗.
สง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม, กรม. อตุ สาหกรรมเครอ่ื งมกุ ของไทย เรยี งความ
ฉบับชนะการประกวดได้รับรางวัลท ี่ ๑. พระนคร : กรมส่งเสริม
อตุ สาหกรรม, ๒๕๑๐.
เสนอ นิลเดช. มรดกแผ่นดิน. กรงุ เทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๔.
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๘ 91