Page 92 - CultureMag2015-2
P. 92
ไม่มีคนขึ้นหุ่นภาชนะ อาจารย์เสน่ห์จึงได้เข้าไปเป็นข้าราช- เมื่ออาจารย์เสน่ห์ แจ่มจิรารักษ์ เริม่ ท�าตะลุ่มลงรัก
บริพาร สอนวิชาการทา� หุ่นตะลุ่มตงั้ แต่ปี ๒๕๓๘ ทนี่ ี่เอง ประดบั มกุ น้นั อปุ สรรคสา� คญั กค็ อื อาการแพย้ างรกั อยา่ งหนกั
อาจารย์ได้พบเห็นการท�างานของช่างประดับมุกจึงเกิดแรง คันและเกาจนเลือดออกตามผิวหนัง จึงได้คิดหาวิธีทีจ่ ะสร้าง
บันดาลใจ เรียนรู้แบบ “ครูพักลักจ�า” โดยอาศัยพืน้ ฐานวิชา งานวจิ ติ รศลิ ปโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยตี ามยคุ สมยั เขา้ ชว่ ย หลงั จาก
ศลิ ปะจากทเ่ี คยเรยี นในโรงเรยี นแต่เยาวม์ าผสม ทดลองวสั ดหุ ลากหลายชนิดแล้ว ท้ายท่ีสดุ ก็มาลงตัวทีก่ ารใช้
อีพอ็ กซ ี (epoxy) ผสมด้วยสีผสมเรซิ่นสดี �าแทนเน้อื ยางรกั
งานประดบั มกุ โดยท่ัวไปมกั พบตามวดั เชน่ บานประตู
หนา้ ตา่ งพระอโุ บสถ โตะ๊ หมบู่ ชู า หบี พระธรรม ฯลฯ หลกั ฐาน ความเชีย่ วชาญด้านการขึ้นหุ่นภาชนะประดับมุกมา
เก่าแก่ชิ้นหนึง่ คือบานประตูประดับมุกของพระอุโบสถวัด หลายสิบปี ทา� ให้อาจารย์เสน่ห์ได้รับการยกย่องและได้รับ
บรมพุทธาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทมี่ ีจารึกระบุว่า รางวัลต่างๆ นับไม่ถ้วน อาท ิ ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้าน
สร้างมาแต่ครั้งแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ส่วน วัฒนธรรมของจังหวัดนนทบุรี ครูภูมิปัญญาไทยด้านศิลปะ
เครอ่ื งใชป้ ระดบั มกุ เชน่ พานแวน่ ฟา้ ตะลมุ่ เตยี บ ฯลฯ กม็ กั การท�าตะลุ่ม พานแว่นฟ้า ครูช่างของแผ่นดิน รางวัล
ใส่สิง่ ของถวายพระหรือนิยมกันในหมู่เจ้านายและขุนนาง วัฒนคุณาธร (๒๕๕๖) ฯลฯ เป็นผู้ร่างหลักสูตร “การท�าหุ่น
ช้ันสูง และแม้งานประดับมุกจะกอปรขึ้นด้วยเชิงช่าง ตะลุ่ม” ของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก
หลายแขนง อาทิ ช่างไม้ ช่างเขียน หากแต่ในงานช่างสิบหมู่ (วิทยาลัยในวัง) จังหวัดนครปฐม รวมถึงรับเชิญเป็นวิทยากร
น้ัน จดั ใหง้ านประดับมกุ อยู่ในประเภทของชา่ งรัก เผยแพรง่ านศิลปส์ ่สู าธารณชน
การทา� ภาชนะลงรกั ประดบั มกุ มขี ้นั ตอนพอสงั เขป คอื อาจารย์เสน่ห์ไม่หวงวิชา ยินดีสอนทกุ ขั้นตอนและ
เริม่ จากการขึน้ หุ่นภาชนะ จากนัน้ น�าเปลือกหอยมุกไฟมา เทคนิคถ้ามีผู้สนใจศึกษา แต่จนถึงทกุ วันนีก้ ็ยังไม่มีใครมา
เลือ่ ยฉลุเป็นลวดลายตามต้องการ ก่อนจะใช้ยางรักเป็นตัว ฝากตัวเป็นศิษย์อย่างทีพ่ อฝากความหวังให้เป็นทายาทงาน
ประสานประดับมุกลงบนภาชนะนั้นๆ เสร็จแล้วถมเนื้อรัก ศิลป์ได้ ด้วยศาสตร์แขนงนีต้ ้องอาศัยใจรัก ความพยายาม
เข้าไปให้เตม็ พืน้ ทีว่ ่างทัง้ หมด เมื่อรักแห้งแล้วจึงน�าไปขัดผิว และความมานะอดทนเป็นท่ีตั้ง
ภาชนะทัง้ หมดเพื่อให้ลวดลายประดับมุกเลื่อมเงาขึน้ บนพื้น
รักสีด�า แต่งานวิจิตรศิลป์เช่นนีไ้ ม่ได้ท�าง่ายดังใจหวัง เพราะ ช่ำงท�ำหนุ่ ตะลุ่มคนสดุ ท้ำย !
ต้องใส่ใจในรายละเอียดและอาศัยความเชีย่ วชาญทุกขัน้ ตอน
นบั วันชา่ งฝีมือดๆี ก็มีแตจ่ ะหายสูญ มีผู้สนใจงานประดับมุกของอาจารย์เสน่ห์ แจ่มจิรา-
รกั ษ ์ มาพดู คยุ เสมอเม่อื อาจารยร์ บั เชญิ ไปออกงานสาธติ ตา่ งๆ
เม่อื อาจารยเ์ สนห่ ไ์ ดใ้ กลช้ ดิ ศาสตรแ์ ละศลิ ปต์ า่ งๆ มาก บางคนก็มาถึงบ้านหลังจากได้รู้จักผ่านสื่อ เกิดตระหนักถึง
ขึ้น อ่านหนังสือ และหาความรู้มากขึน้ ความรู้เรื่องภาชนะ คณุ คา่ ของงานศลิ ปป์ ระเภทนแ้ี ละอยากมไี วใ้ นครอบครอง แต่
ประดับมุกจึงขยายจากพาน ไปสู่กล่อง ถาด ฯลฯ แตกแขนง ดว้ ยมลู คา่ ท่คี อ่ นขา้ งสงู ผสู้ นใจสว่ นใหญจ่ งึ มกั อยใู่ นวยั เกษยี ณ
ตอ่ ยอดออกไปไมร่ จู้ บ ทหี่ วังให้งานศิลป์นีเ้ ป็นมรดกแก่ลูกหลาน นอกจากนัน้ ก็ม ี
ชาวต่างชาติบ้าง อาจารย์เสน่ห์ปฏิเสธนายหน้าหรือร้านค้า
ศิลปะประยุกต์ตำมยุคสมยั ทีจ่ ะมาขอรับไปจ�าหน่าย เพราะต้องการให้ผลงานทสี่ ร้าง
ขึ้นด้วยการทุ่มเททงั้ กาย ใจ และจิตวิญญาณ อยู่ในความ
พานแว่นฟ้า ตะลุ่ม และเตียบ ของโบราณทีพ่ บเห็น ครอบครองของผู้ร้คู ่า ในราคาทตี่ า่ งฝ่ายต่างพึงใจ
ตามวดั และพพิ ธิ ภณั ฑน์ น้ั มดี า้ นในเปน็ สแี ดงและดา้ นนอกเปน็
สีด�าประดับมุก สีแดงคือชาด ส่วนสีด�าเกิดจากยางรักผสม ถึงจะเคยสอนวิชาท�าหุ่นตะลุ่มในระบบการศึกษาอยู่
เถ้าถา่ น ราว ๗-๘ ปี แต่จนถึงทุกวันนีก้ ็ยังไม่มีลูกศิษย์คนไหนยึดการ
90 วัฒนธ รม