Page 99 - CultureMag2015-2
P. 99

พพิ ธิ ภณั ฑ์สริ ินธร                                                                เด็กๆ คือผู้ชมกลุ่มหลักของพิพิธภัณฑ์สิรินธร
                                                                               ความสนใจในไดโนเสาร์ของพวกเขามาจากการชมภาพยนตร์
กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม                       สารคดี การต์ นู และส่อื อ่นื ๆ เกย่ี วกบั ไดโนเสารท์ ่มี อี ยมู่ ากมาย
๒๐๐ หมทู่ ่ี ๑๑ ต�าบลโนนบุรี อา� เภอสหัสขนั ธ์ จงั หวดั กาฬสินธุ์              น่าทงึ่ ว่าเด็กๆ หลายคนสามารถจดจ�าชือ่ ยาวๆ เรียกยากๆ
เปิดวันองั คารถึงวันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐–๑๗.๐๐ น.                                ของไดโนเสาร์สายพันธตุ์ ่างๆ ได้อยา่ งแม่นย�า
(ปิดทุกวันจนั ทร์ ยกเวน้ วนั จนั ทร์ท่เี ป็นวันหยุดนกั ขัตฤกษ์)
ค่าเขา้ ชม : คนไทย ผใู้ หญ่ ๔๐ บาท เดก็ ๑๐ บาท                                       พพิ ธิ ภณั ฑส์ ริ นิ ธรในฐานะท่ีเปน็ สว่ นหน่งึ ของศนู ยว์ จิ ยั
                                                                               ฟอสซิลไดโนเสาร์และสัตว์ร่วมสมัยได้ถูกออกแบบให้ผู้ชม
          ชาวตา่ งชาติ ผู้ใหญ่ ๑๐๐ บาท เด็ก ๕๐ บาท                             สามารถมองผา่ นบานกระจกขนาดใหญเ่ ขา้ ไปเหน็ หอ้ งปฏบิ ตั -ิ
สอบถามข้อมลู โทร. ๐-๔๓๘๗-๑๖๑๓, ๐-๔๓๘๗-๑๖๑๕-๑๖                                  การของนกั ธรณวี ทิ ยาที่ทา� การศกึ ษาวจิ ยั ฟอสซลิ ตา่ งๆ ได้
การเดินทาง : พิพธิ ภัณฑ์ตัง้ อย่หู า่ งจากตวั จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุไปทาง
ทิศเหนอื ๓๐ กโิ ลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข ๒๒๗                                          ถัดจากห้องปฏิบัติการ คือคลังวัตถุทอี่ อกแบบให้มี
(กาฬสนิ ธุ-์ สหัสขันธ์-ค�ามว่ ง-วงั สามหมอ-พังโคน)                             ขนาดใหญ่เพือ่ รองรับการเพิ่มจ�านวนของตัวอย่างฟอสซิลที่
กอ่ นถึงตัวอา� เภอสหัสขันธป์ ระมาณ ๑ กิโลเมตร เลย้ี วขวาเขา้                   จะคน้ พบในอนาคต และค�านงึ ถงึ ความปลอดภยั ของวตั ถเุ ปน็
วัดสักกะวนั ข้างโรงเรยี นสหัสขนั ธศ์ กึ ษา ระยะทาง ๑ กิโลเมตร                  ส�าคัญ ห้องคลังฟอสซิลของพิพิธภัณฑ์สิรินธรถือได้ว่าเป็น
                                                                               พื้นทศี่ ึกษาวิจัยไดโนเสาร์และสัตว์ดึกด�าบรรพ์ทีส่ �าคัญแห่ง
เว็บไซต์ http://www.sdm.dmr.go.th                                              หนึ่งของโลก มีนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ เดินทางมา
                                                                               รว่ มศึกษาคน้ ควา้ กบั ทีมนกั วิชาการของไทยอยา่ งตอ่ เน่ือง
       โครงกระดกู ไดโนเสารข์ นาดใหญ่
       คอื สงิ่ ดึงดดู ความสนใจของผู้เข้าชม                                          นอกเหนือการน�าเสนอความรู้ในรูปแบบนิทรรศการ
       มากที่สดุ                                                               พพิ ธิ ภณั ฑส์ ริ นิ ธรยงั มกี จิ กรรมการเรยี นรทู้ ่สี า� คญั ซ่งึ ดา� เนนิ งาน
                                                                               มาอย่างต่อเนื่อง คือค่ายอบรมความรู้ด้านซากดึกด�าบรรพ์
      ดว้ ยเทคนคิ การจดั แสดงท่ีใชส้ อ่ื สมยั ใหมใ่ นการนา� เสนอ               และธรณีวิทยา เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้แก่นักเรียน เยาวชน
เรือ่ งราว ประกอบกับหุ่นจ�าลองไดโนเสาร์ทสี่ ัง่ ทา� จากต่าง                    และผู้สนใจทวั่ ไป รวมถึงมีการจัดนิทรรศการเคลือ่ นทไี่ ปยัง
ประเทศ ซง่ึ มสี ดั สว่ นและคณุ ภาพท่เี ปน็ มาตรฐานเชน่ เดยี วกบั               ภูมิภาคต่างๆ โดยมีหุ่นจ�าลองไดโนเสาร์ทีจ่ ัดทา� ขึ้นเป็นการ
หนุ่ จา� ลองไดโนเสารใ์ นพพิ ธิ ภณั ฑส์ า� คญั ท่วั โลก ทา� ใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑ์   เฉพาะส�าหรบั นทิ รรศการนอกสถานท่ี สรา้ งความสนใจใหแ้ ก่
สริ นิ ธรดงึ ดดู ผเู้ ขา้ ชมกลมุ่ ตา่ งๆ ท่สี นใจใฝร่ เู้ ก่ยี วกบั ไดโนเสาร์  ผู้ชมในที่ตา่ งๆ เป็นอยา่ งมาก
และซากบรรพชีวินต่างๆ ปีละกว่า ๓ แสนคน ถือเป็นสถิติ
การเข้าชมพิพิธภัณฑ์ทมี่ ากกว่าพิพิธภัณฑ์ขนาดใหญ่ใน                                   แม้ว่าศาสตร์การศึกษาฟอสซิลสิ่งมีชีวิตยุคโบราณจะ
กรุงเทพฯ หรอื เมอื งใหญอ่ ื่นๆ                                                 ได้รบั การวางรากฐานขน้ึ ใหมใ่ นประเทศไทยภายในเวลาเพยี ง
                                                                               ไมก่ ี่ทศวรรษ อีกทัง้ ยงั มนี กั วชิ าการเฉพาะดา้ นจ�านวนไมม่ าก
                                                                               นัก แต่ก็ได้ช่วยพัฒนาองค์ความรู้เกีย่ วกับสิง่ มีชีวิตโบราณที่
                                                                               อาศยั อยใู่ นประเทศไทยเม่อื กวา่ รอ้ ยลา้ นปกี อ่ นใหเ้ ปน็ รปู ธรรม
                                                                               ชัดเจนขึ้นอย่างมาก โดยการสือ่ สารผ่านการจัดแสดงใน
                                                                               พิพิธภัณฑ์ และการจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้รูปแบบต่างๆ
                                                                               ทงั้ ยังถือเป็นจุดเริ่มต้นทที่ �าให้พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยากลับ
                                                                               มาไดร้ ับความสนใจอีกครัง้ บนถนนสายพิพิธภณั ฑไ์ ทย

                                                                                    ท่ีก�าลังเติบโตแตกกิ่งก้านสาขาไปสู่ความหลาก
                                                                               หลายมากข้ึน

                                                                               เมษายน-มถิ นุ ายน ๒๕๕๘ 97
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104