Page 91 - CultureMag2015-2
P. 91

นา้ ชายไปดตู วั อยา่ งในพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตแิ ลว้  แตน่ า้ ชาย
                                                                     ยังคิดหาวิธีท�าไม่ได้  เรือ่ งนี้สร้างความสงสัยอยู่ในใจอาจารย์
                                                                     เสน่ห์ตลอดมาว่าเตียบคืออะไร พอมีโอกาสจึงไปดูเตียบใน
                                                                     พพิ ธิ ภณั ฑต์ า่ งๆ บา้ ง ตอ่ มาราวป ี ๒๕๒๐ มชี า่ งมกุ จากอยธุ ยา
                                                                     มาชวนให้ท�าหุ่นเตียบเพือ่ จะน�าไปประดับมุกส่งเข้าประกวด
                                                                     ในงานของกระทรวงอตุ สาหกรรม  ผลกค็ อื เตยี บประดบั มกุ ใบ
                                                                     น้นั ไดร้ บั รางวลั ดเี ดน่  แตส่ ง่ิ ท่ีอาจารยเ์ สนห่ ไ์ ดร้ บั กค็ อื ภาพถา่ ย
                                                                     เตยี บใบน้ันที่ช่างมุกน�ามามอบใหแ้ ละความภาคภูมใิ จ

                                                                           หลังจากนัน้ อีกราว ๕-๖ ปี วันหนึง่  อาจารย์ผู้ใหญ่
                                                                     ท่านนั้นก็มาหาถึงบ้าน บอกว่าได้ทราบข่าวว่าอาจารย์เสน่ห์
                                                                     ทา� หนุ่ เตยี บไดแ้ ลว้  จะมาวา่ จา้ งใหท้ า� หนุ่ เตยี บคหู่ น่งึ เพ่อื จะนา�
                                                                     ไปเป็นแบบให้ช่างท�าเตียบทองเหลืองดุนลาย นั่นคือความ
                                                                     ภมู ใิ จคร้งั หน่งึ ในชวี ติ ของอาจารยเ์ สนห่  ์ แจม่ จริ ารกั ษ ์ และเปน็
                                                                     แรงบันดาลใจทีจ่ ะพลิกฟื้นให้เตียบกลับมาเป็นทีร่ ู้จักอีกครัง้  
                                                                     แต่กว่าจะจับจุดพลิกแพลงให้ไดด้ งั ใจกใ็ ชเ้ วลานานนบั สบิ ปี

                                                                           นานวันเข้า อาจารย์เสน่ห์เห็นว่าตะลุ่มโบราณเท่าที่
                                                                     พบเหน็ มเี พยี งไมก่ ข่ี นาด ท่ีนยิ มกนั คอื เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางขนาด 
                                                                     ๑๘ นิ้วฟุต ใช้ใส่ส�ารับคาว และ ๑๖ นิ้วฟุต ใช้ใส่ส�ารับหวาน 
                                                                     จงึ ไดเ้ พม่ิ ขนาดเลก็ ใหญไ่ ลร่ ะดบั กนั ไป กอ่ นประยกุ ตใ์ หต้ ะลมุ่
                                                                     มขี นาดตง้ั แต ่ ๑/๒_๕๐ น้วิ ฟตุ  ซง่ึ กไ็ ดร้ บั ความนยิ มอยา่ งมาก

                                                                           แต่ภาชนะสูงค่าประเภทนีก้ ็มีแวดวงผู้ใช้สอยจ�ากัด 
                                                                     บวกกับมีภาชนะโลหะอื่นมาทดแทน อาชีพการทา� หุ่นตะลุ่ม 
                                                                     พานแว่นฟ้า ก็ค่อยๆ ลดน้อยลง ลูกพี่ลูกน้องในสายตระกูล
                                                               ๓ หันไปประกอบอาชีพอื่นก็มาก ท้ายทีส่ ุดแล้วจึงเหลือเพียง
                                                                     อาจารย์เสนห่ ์ท่ียงั คงยึดม่นั ในเส้นทางนี้

๑                                                              ครูหำศิษย์และคิดตอ่ ยอด

หนุ่ พานแว่นฟา้  มไี มท้ องหลาง หวาย และไม้รวก                       การทา� หุ่นตะลุ่ม พานแว่นฟ้า และเตียบนัน้  แม้จะมี
เป็นสว่ นประกอบหลกั                                            รายได้เลีย้ งครอบครัวและส่งลูกสาวสี่คนเรียนจนจบปริญญา
                                                               ตรี แต่ยังไม่มีวี่แววว่าจะมีผู้สืบทอด ด้วยความกังวลว่าตนจะ
๒                                                              เป็นคนสุดท้ายทมี่ ีวิชานี้ อาจารย์เสน่ห์จึงได้ตั้งปณิธานอยาก
                                                               ถ่ายทอดแก่สาธารณชนเพือ่ ให้องค์ความรู้นีค้ งอยู่ในแผ่นดิน
สว่ นประกอบพานแวน่ ฟ้า 
ทส่ี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี                      หลังจากมีผู้แนะน�าให้ไปติดต่อทโี่ รงเรียนผู้ใหญ ่
องค์อุปถัมภว์ ิทยาลัยในวงั ชาย ทรงตอกหมดุ  เม่ือทรงเยี่ยมชม    พระตา� หนกั สวนกหุ ลาบ (วทิ ยาลยั ในวงั ชาย) ท่มี เี พยี งชา่ งมกุ  
ผลงานนักศกึ ษาวิทยาลยั ในวังชาย ป ี ๒๕๔๙ 
                                                                                                     เมษายน-มถิ นุ ายน ๒๕๕๘ 89
๓

หอยมุกทีใ่ ช้ประดบั ลวดลายลงบนตะลุม่  พานแว่นฟ้า หรอื เตยี บ 
จากเปลือกหอยมุกน�้าหนกั  ๑ กโิ ลกรมั  นา� มาใช้จริงไดเ้ พยี ง
ราว ๒๐๐ กรัมเท่าน้ัน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96