Page 83 - CultureMag2015-2
P. 83

บ ร ม ค รู

                                                                                                   เอนก นาวิกมลู

                     พูดถึงเรื่อง “เรือ่ งเก่าๆ” และเรือ่ งเล่นเพลง ต้องยกให้                      ประวัตยิ อ่
                     ยายทองหลอ่  ท�าเลทอง แมเ่ พลงคนส�าคญั ซง่ึ ไดร้ บั การยกยอ่ ง
                     ให้เป็นศลิ ปนิ แห่งชาติ ปี ๒๕๒๙                                                      ยายทองหล่อเป็นชาวบางขุนทิพย์ อ�าเภออุทัย 
                                                                                                   จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกิดเมือ่ วันเสาร์ เดือน ๓ ปีกุน 
                            เร่อื งราวและประสบการณข์ องยายทองหลอ่ มลี น้ เหลอื                     ไม่ทราบขึน้ แรม ปี ๒๔๔๒ ถึงแก่กรรมเมือ่ วันอาทติ ย์ท ี่ ๔ 
                     เพราะยายทองหล่อไม่ได้นัง่ อยู่กับท ี่ หากออกไปเล่นเพลง                        เมษายน ๒๕๓๖ อายุ ๙๔ ป ี
                     ตัง้ แต่เด็ก แถมรู้จักท�ามาค้าขาย เป็นคนช่างจ�าและช่างเล่า 
                     เรอ่ื งตา่ งๆ จากปากของยายทองหลอ่ จงึ นา่ ฟงั และนา่ ตดิ ตาม                         พ่อของยาย ชือ่ พลอย แม่ชื่อพรัง่  อาชีพท�านาและ
                     มาก                                                                           ทา� โรงยาฝน่ิ   ปเู่ ปน็ นกั เลง ช่อื ทับ ยา่ ชอ่ื เพยี น นางเพยี นน้เี ปน็
                                                                                                   ลูกเจ๊ก นายทับไปฉุดเอามาทา� เมียพร้อมน้องของนางเพียน
                            ชวี ติ คนหนง่ึ คนยากไมใ่ ชเ่ ลน่ เหมอื นกนั ท่ีจะมโี อกาส              ด้วย 
                     ผา่ นพบท้ังคนธรรมดา คนเพลง นกั เลง โจรลกั ปลน้  ปญั ญาชน 
                     ไปจนถึงเจ้าฟ้าเจ้านายระดับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ                                   บ้านของยายทองหล่อเป็นบ้านทรงไทยหลังใหญ ่
                     สยามบรมราชกุมารี ดูสมยั ไปเลน่ งานวนั เกดิ อาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ                  คนในบ้านเล่นเพลงมาแต่โบราณทงั้ เพลงเทพทอง เพลง
                     ปราโมช เดอื นเมษายนส ิ แต่ก่อนเคยร้องเพลงฉ่อยโต้ตอบกับ                        ปรบไก่ เพลงเต้นก�า (ร้องหน้าเกีย่ ว) และเพลงทีน่ ่าจะเกิด
                     เจา้ ของงานใหค้ นฮากันจนหมดเวลา                                               สมัยราวรัชกาลท ี่ ๕ คือเพลงฉ่อย ทีร่ ้องรับว่า “เอ่ชา ช้า ชา
                                                                                                   ฉาดชา  หนอยแม่...” และเพลงทรงเครื่อง (เอาเพลงฉ่อย 
                            เมือ่ ผู้เขียนเริม่ ลงมือค้นคว้าเรื่องเพลงพืน้ บ้านภาค                 มาเล่นเป็นเรือ่ ง เช่น ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี - มีการ 
                     กลางอย่างจริงจัง ในปี ๒๕๑๘ ได้ไปหายายทองหล่อเป็น                              อัดแผ่นเสียงตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที ่ ๕ จนถึงยุค ๒๔๙๐ 
                     คนแรก ท่ีบา้ นเกา่ ๆ ในซอยขา้ งวดั สวุ รรณาราม เขตบางกอกนอ้ ย                 พอถึงยุค ๒๕๑๐ เพลงฉ่อย เพลงทรงเครือ่ ง ก็ค่อยๆ หมด
                     ทันใดนัน้ ก็พบว่ายายทองหล่อนี่แหละคือขุมคลังแห่งความรู้                       ความนิยมไป)
                     เรือ่ งเพลงพื้นบ้านระดับคร ู
                                                                                                          ยายทองหล่อชอบฟังเพลง เวลามีเพลงทไี่ หนก็
                            ยายทองหล่อไม่ได้เพียงแต่เล่นเพลงแล้วผ่านเลย                            พยายามไปดู แล้วมารบเร้าขอพ่อหัดเพลง ในทีส่ ุดพ่อก็หา 
                     หากใส่ใจจดจ�าเนือ้ เพลงต่างๆ ไว้มากมาย  เมื่อถามอะไรก็                        ครูเพลง ชื่อครูทิม มาสอนให้ทีบ่ ้านพร้อมเด็กอืน่ ๆ อีก 
                     ตงั้ ใจตอบอย่างฉาดฉาน สมกับความเป็นคนรู้จริง  ภายหลัง                         หลายคน หลังจากนัน้ ยายทองหล่อก็ออกเล่นเพลงกับครู 
                     เม่อื ผเู้ ขยี นไปทา� งานท่ศี นู ยส์ งั คตี ศลิ ป ์ ธนาคารกรงุ เทพ จา� กดั    และคนอ่ืนๆ มาจนถึงวัยชรา
                     สาขาสะพานผ่านฟ้า แล้วได้เชิญยายทองหล่อไปขึน้ เวท ี
                     เล่นเพลงและเล่าเรือ่ งเก่าหลายสิบครั้ง แต่แม้กระนั้น เพลง                     เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๘ 81
                     การและนทิ านยายทองหลอ่ กไ็ มร่ จู้ กั หมด ดงั จะนา� อกี บางสว่ น
                     ทย่ี งั ไม่เคยเขียนมาบันทึกในวารสาร วัฒนธรรม ฉบับนี้

  แมเ่ พลง
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88