Page 109 - CultureMag2015-2
P. 109

อกี มมุ ทส่ี อดคลอ้ ง  จลุ พรเปน็ อาจารยพ์ เิ ศษในวชิ าสถาปตั ยกรรมพ้นื ถน่ิ และส่งิ แวดลอ้ ม
ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ผู้เชื่อมัน่ เรื่องการอยู่ร่วมกันของมนุษย์
กับธรรมชาติ เข้าใจว่าองค์ประกอบทุกอย่างในทางสถาปัตยกรรมล้วนเกิดอย่างมีเหตุมีผลและ
วิวฒั น์ไปตามยคุ สมัย

      ส�าหรับเขา เสน่ห์ของงานสถาปัตยกรรมไม่ใช่เพียง “ความงาม” ทีโ่ ดดเด่นด้านสัดส่วน
ทัศนศิลป์อย่างองค์ประกอบ การจัดวางพืน้ ที่ว่าง ละเมียดละไมในการใช้เฉดสี หรือการคัดสรร
วสั ดตุ า่ งๆ ท่ถี กู ตอ้ งตามหลกั วศิ วกรรมการกอ่ สรา้ ง เพอ่ื ความมน่ั คงแขง็ แรงเหมาะแกก่ ารใชส้ อย
ประโยชนเ์ ทา่ นนั้

      หากแตย่ งั หมายรวมถงึ  “ความงา่ ย” ทค่ี า� นงึ ถงึ ความอยสู่ บายและอยไู่ ดจ้ รงิ ของผใู้ ชส้ อย 
อันเกิดจากการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างรู้ค่า ผสานภูมิปัญญาตามยุคได้กลมกลืนกับธรรมชาติ
และสภาพแวดล้อมเดมิ

      ที่น่าสนใจคือ แนวคิดสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัยในแบบติดดินของอาจารย์จุลพรไม่ได้
เพ่งิ เกดิ ทา่ มกลางกระแสตน่ื ตวั ในยคุ โลกรอ้ น เขาออกแบบใหผ้ อู้ น่ื และใชช้ วี ติ เปน็ อยกู่ บั ส่งิ เหลา่ นน้ั  
มาเน่นิ นานแล้ว

                                                                                       เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๘ 107
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114