Page 105 - CultureMag2015-2
P. 105

ด้วยการก่ออฐิ ถือปนู                                                         คติเรือ่ งผีทีแ่ ทรกในความเชื่อพุทธศาสนาแบบไท-
       โดยทัว่ ไปเรามักคุ้นเคยกับงานเครือ่ งก่อทเี่ ป็น               ลาวไดต้ ดิ ตวั กลมุ่ ชาตพิ นั ธจุ์ ากสองฝง่ั โขงออกไปยงั ภมู ภิ าคอ่นื
                                                                      เช่นมีต�านานเรื่องเล่าของพระพุทธรูปส�าคัญของล้านช้าง
ศาสนสถานของพุทธ-พราหมณ์ เช่น สถูปเจดีย์ วิหาร หรือ                    คือ พระแก้วมรกต กับ พระบาง ทีว่ ่ากันว่า พระพุทธรูปทงั้
ปราสาทเทวาลัย แต่ส�าหรับหอเสือ้ วัด -เสือ้ ธาตุซึ่งเป็นศาลผี          สององค์มีผีอารักษ์ด้วยกันทัง้ คู่ และผีสองตนนีไ้ ม่ลงรอยกัน
ทีถ่ ูกพัฒนามาให้เป็นงานเครือ่ งก่อถาวรแทนทเี่ ครื่องไม้นี้           หากพระแก้วมรกตไปประดิษฐานทใี่ ดพร้อมกับพระบาง
นบั เปน็ กระบวนการในทอ้ งถน่ิ ท่เี กดิ ขน้ึ จากความเช่อื พ้นื เมอื ง  บา้ นเมอื งน้นั กจ็ ะปน่ั ปว่ นเปน็ จลาจล ในสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์
ขณะเดยี วกนั กส็ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ความเขม้ แขง็ ของ “วฒั นธรรมผ”ี       พระพทุ ธรปู สององคน์ เ้ี คยประดษิ ฐานอยดู่ ว้ ยกนั ณ กรงุ เทพ-
ทีก่ ลายรูปตกผลึกมาเป็นรูปธรรมในศิลปกรรมของกลุ่มไท-                   มหานคร แต่แล้วช่วงนั้นเกิดฝนแล้งและโรคระบาดขึ้นติดต่อ
ลาวสองฝัง่ โขง                                                        กนั ถึงสามปี

       หอเสือ้ ธาตุหรือหอเสื้อวัดยังคงถูกใช้เป็นพื้นที่                      แมจ้ ะไมม่ มี ลู เหตใุ ดๆ รองรบั แตเ่ รอ่ื งเลา่ น้กี เ็ ตม็ ไป
บวงสรวงบชู าผปี ระจ�าวดั อยตู่ ลอด เมอ่ื ยามชาวบา้ นมาท�าบญุ          ด้วยความเชือ่ เรื่องผีทคี่ รอบง�าอยู่ในพุทธศาสนาของกลุ่มชน
ถวายภัตตาหารเช้า-เพลให้แก่พระสงฆ์แล้ว ก็จะปั้นก้อน                    ไท-ลาว และมีอิทธิพลมากพอทที่ า� ให้พระบาทสมเด็จพระ-
ข้าวเหนียววางไว้เป็นของอุทิศให้แก่เสื้อวัดหรือเสื้อธาตุตาม            จอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตัดสินพระทยั คืนพระบางให้แก่เจ้า
สมควร ภายหลังก็มักมีผู้น�าเอาพระพุทธรูปหรือรูปเคารพ                   มหาชีวิตนครหลวงพระบาง และพระบางก็ยังคงประดิษฐาน
ต่างๆ ทีห่ ักพังไปวางทิง้ ไว้ หรือบางครัง้ ก็กลายเป็นเรือนพัก         อยู่ ณ เมอื งหลวงพระบางจนบัดนี้
ของเพื่อนร่วมโลกอย่างหมาแมวในวัดด้วย

ผที ค่ี รอบง�าพุทธ

       ศาลผีประจ�าวัด-หอเสื้อวัด-หอเสื้อธาตุ น่าจะเป็น                เอกสารอา้ งองิ
การประนปี ระนอมกนั ทางดา้ นความเช่อื ระหวา่ งฝา่ ย “ผ”ี อนั           ปราณี วงษ์เทศ. เพศสภาวะในสุวรรณภูมิ (อุษาคเนย์). กรุงเทพฯ :
เป็นตัวแทนวัฒนธรรมดัง้ เดิมในอุษาคเนย์ กับ “พระ” ทีเ่ ป็น
ฝ่ายของศาสนาใหม่จากภายนอก หากมองแบบผิวเผินจะ                              มติชน, ๒๕๔๙.
เห็นว่า “พระ” เป็นฝ่ายสละมุมเล็กๆ ภายในวัด ให้ “ผี” ได้               วรลญั จก์ บณุ ยสรุ ตั น.์ ช่นื ชมสถาปตั ย ์ วดั ในหลวงพระบาง. กรงุ เทพฯ :
พ�านักอาศัย แต่ในทางกลับกัน จะหมายความได้หรือไม่
ว่าฝ่าย “ผี” ต่างหากทีอ่ นุญาตให้ “พระ” เข้ามาใช้พื้นที่                  เมอื งโบราณ, ๒๕๔๗.
เพราะสถานะของ “เสือ้ วัด- เสือ้ ธาตุ” มีนัยของผีผู้เป็น               วสันต์ ณ ถลาง. “ความเชื่อเรือ่ ง ‘ผ’ี และพิธีกรรมของสังคมอีก้อ ใน
เจ้าของ ผู้คอยดูแลอาณาบริเวณวัดทัง้ หมด
                                                                          หมบู่ า้ นผาหมี ต. แมส่ าย เชยี งราย.” โบราณคด.ี ๕, ๓ (สงิ หาคม
๔ หอเสือ้ ธาตุ-หอเสอ้ื วดั บางแห่งทเี่ มืองหลวงพระบาง                     ๒๕๑๗) : ๒๕๕-๒๗๓.
                                                                      ศรีศักร วัลลิโภดม. เรือนไทย บ้านไทย. กรุงเทพฯ ; เมืองโบราณ,
มีรูปแบบและงานประดบั ตกแต่งหลากหลาย                                       ๒๕๕๒.
ทงั้ ที่เรียบงา่ ยและแทรกไปดว้ ยลูกเล่นฝีมอื ชา่ งพื้นบา้ น           ศลิ ปากร, กรม. จารึกสมยั สุโขทัย. กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร, ๒๕๒๗.
                                                                      สงวน รอดบุญ. พุทธศิลปลาว. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ : สายธาร,
๕ หอเสือ้ ธาต-ุ หอเส้อื วดั ทม่ี คี นเอาพระพทุ ธรปู ขนาดเลก็              ๒๕๔๕.
                                                                      สลิ า วรี ะวงศ์. ประวัตศิ าสตรล์ าว. กรงุ เทพฯ : มตชิ น, ๒๕๔๐.
กับเคร่ืองบชู ามาใสไ่ ว้ภายหลัง คล้ายการทง้ิ รูปเคารพช�ารดุ           สุรศักด์ิ ศรีส�าอางค์. ล�าดับกษัตริย์ลาว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,
ตามโคนต้นไมท้ พี่ บเหน็ กันบ่อยๆ ในเมืองไทย                               ๒๕๔๕.
(วดั จูมคอ้ ง หลวงพระบาง)                                             สรุ สวสั ด์ิ สขุ สวสั ด,์ิ ม.ล. จากหลวงพระบางถงึ เวยี งจนั ทน์. กรงุ เทพฯ :
                                                                          สายธาร, ๒๕๔๔.

                                                                      เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๘ 103
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110