Page 111 - CultureMag2015-2
P. 111
จดเจถกสในรังะ้าาถว้ ือเหต“ปรยารนรไอ้ปวรปอื มะไะะงัตนทนู บจ่ กเย”กยปลา�าอกเ็ไอย�าน็ บดปรดาอเ้ด็นรรจบัามอื้วเสกลยไนราทยทา้ไศยมวงว่ี า่้า่ ง “มแี นน่ อน การสรา้ งท่อี ยอู่ าจปรบั ไดต้ ามความสะดวก
ของผู้อาศัย แต่วัดไม่ใช่ รูปแบบเรือนไทยทถี่ ูกต้องยังส�าคัญ
ควรมไี ว้ให้ลกู หลานเห็นว่าเป็นอยา่ งไร
“สง่ิ ประกอบทางสถาปตั ยท์ ่เี ราเหน็ กนั อยู่ คอื ‘สญั ญะ’
ท�าหน้าทจี่ บเรื่องเส้นสายบางอย่างในสิ่งทตี่ าเห็น สิง่ เหล่านี้
ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างปราศจากเหตุผล มันท�าหน้าทอี่ ธิบาย
ความหมายของธรรม สะท้อนปรัชญาของสถานที่ และ
ยงั ตกทอดจนถึงทกุ วันน้ี
“คนชนบทสว่ นใหญท่ ่ีเตบิ โตมากบั วฒั นธรรมน้นั ๆ แม้
ไม่ต้องเห็นสัญญะใดๆ ก็เข้าถึงความหมาย แต่กับคนรุ่นใหม่
อาจต้องเห็นจึงจะรับรู้ว่าทนี่ ี่คือศาสนสถาน พิเศษกว่าบ้าน
ไมใ่ ช่สถานีรถไฟ
“บางคนอาจบอกว่าวัดสมัยใหม่ออกแบบให้เรียบง่าย
กไ็ ดน้ ่ี ผมคดิ วา่ ไมไ่ ด้ ลกั ษณะขององคป์ ระกอบสถาปตั ยกรรม
เชน่ ชอ่ ฟา้ ใบระกา คอื ฐานนั ดรทางสถาปตั ยกรรม เปน็ เสน้
เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๘ 109