Page 103 - CultureMag2015-2
P. 103

ในเรือ่ งว่าพระองค์ไม่อาจน�าเอาพระบาง พระพุทธรูป                        ศิลาจารึกสมัยสุโขทยั บางหลัก คือค�าเดียวกับ “เชือ้ ” ท่ีใน
ศักดิ์สิทธขิ์ ึน้ มาจากเมืองเวียงค�า (อยู่ใกล้เวียงจันทน์) ได้          ภาษาไทยปจั จบุ นั เรยี กควบกนั วา่ “เชอ้ื สาย” มคี วามหมายถงึ
ต้องรออกี กว่า ๑๐๐ ปีจึงจะสามารถอัญเชิญพระบางขึน้ มา                    ถึงผีบรรพชน ดังนั้น หอเสื้อวัดหรือหอเสือ้ ธาตุ จึงเป็นการ
เชียงดงเชียงทองได้ หลังจากนั้นเมืองแห่งนีจ้ ึงได้รับนามว่า              สรา้ งท่อี ยใู่ หแ้ ก่ “ผดี ”ี ผดู้ แู ลอาณาบรเิ วณวดั และพระธาตเุ จดยี ์
“หลวงพระบาง”
                                                                               หอเทวดานีบ้ างทีจะแลดูคล้ายกับสิ่งก่อสร้างอีก
       เห็นได้ว่าพุทธศาสนาประสบความยากล�าบากใน                          อยา่ งหนง่ึ ในวดั คอื หอไหวห้ รอื อบู มงุ ตา่ งกนั เพยี งหอไหวน้ ้นั
การแทรกตัวเองลงในสังคมล้านช้างระยะแรกเนื่องจาก                          สร้างเพอ่ื ประดษิ ฐานพระพุทธรูปโดยเฉพาะ แตห่ ากเป็นหอ
ความเช่อื เรอ่ื งผยี งั เปน็ ขนบสา� คญั การถอื ผอี ยา่ งเหนยี วแนน่     เสื้อวัดและหอเสือ้ ธาตุแล้วภายในจะว่างเปล่าเพราะเป็นที่
นีจ้ ะสะท้อนให้เห็นในหลักฐานการสร้างทอี่ ยู่ให้แก่ผีของ                 สถิตของผีซึ่งไม่มีรูปร่างหน้าตา อีกทัง้ ขนาดของหอเสื้อวัด-
วฒั นธรรมไท-ลาวที่ยังแทรกตวั อยใู่ นวดั วาอารามตา่ งๆ                   เสอื้ ธาตกุ ็มกั จะเลก็ กว่ามาก

บ้านผใี นวดั พุทธ :
วัฒนธรรมไท-ลาว

       เมือ่ วัฒนธรรมพุทธศาสนาเข้ามา พืน้ ทขี่ อง “ผี”                              ๓
หลายแห่งถูกปรับเปลีย่ นให้กลายเป็นพืน้ ทขี่ อง “พระ” ดัง
ใน พงศาวดารล้านช้าง กล่าวว่า พระยาโพธิสาลราชทรงรือ้                     ๑ ศาลท่ีสร้างไว้เสมอื นทอี่ ยขู่ องผเี จา้ ท่ี
ศาลผีใหญ่ตรงปากน�า้ ดงใต้เมืองหลวงพระบางเพือ่ สร้างวัด
สวรรคเทวโลก สื่อให้เห็นภาพของพืน้ ทีศ่ ักดิส์ ิทธิท์ ีเ่ ปลี่ยน         มลี กั ษณะเป็นบา้ นยอ่ ส่วน ประกอบดว้ ยวัสดุท่หี างา่ ยในท้องถน่ิ
ผา่ นการใชง้ านจากความเชอ่ื เดมิ ไปสคู่ วามเชอ่ื ใหม่ แตอ่ ยา่ งไร      (บา้ นดอน อ�าเภอวดั เพลง จงั หวัดราชบรุ ี)
ก็ตาม “ผ”ี ยงั ไมไ่ ดห้ ายไปจากพน้ื ทเ่ี ดมิ
                                                                        ๒ หอเส้อื ธาตุ เป็นศาลเล็กๆ กอ่ ไวด้ ้านหนา้ เจดีย์
       ในวัดแถบเมืองหลวงพระบาง หากออกมาจาก
อาคารวิหารพุทธสีมาทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูป จะพบกับ                       ใหเ้ ปน็ ทอี่ ยขู่ องผผี อู้ ารักษพ์ ระธาตุเจดีย์ภายในวัดตามคติไท-ลาว
ส่งิ กอ่ สรา้ งคลา้ ยบา้ นขนาดเลก็ ยกฐานสงู เหมอื นศาลพระภมู ิ          (วัดหนองสีคนู เมือง หลวงพระบาง)
เจ้าที่ ตงั้ อยู่ปะปนกับธาตุเจดีย์ ถ้าวัดเล็กๆ อาจมีเพียงหลัง
เดียว ถ้าวัดใหญ่ๆ ก็มีหลายหลัง หากจะมองกันด้วยความ                      ๓ “กู่” ทส่ี ถิตของ “เสือ้ วัด” ในวดั พระธาตชุ า้ งค�้า เมืองน่าน
คุ้นเคยของวัฒนธรรมไทย สิ่งนี้ก็ไม่ต่างไปจากศาลพระภูมิ
เจ้าทีท่ ัว่ ไป แต่ในวัฒนธรรมสองฝั่งโขงเรียกสิ่งก่อสร้างแบบ             หลกั ฐานยืนยนั ความเกา่ แกข่ องคตบิ ้านผใี นวดั พุทธ
นว้ี ่า “หอเทวดา”                                                       ในพน้ื ทที่ างวัฒนธรรมร่วมไท-ลาว

       หอเทวดาในวฒั นธรรมลาวมอี ยดู่ ว้ ยกนั สองอยา่ งคอื
       หอเสื้อวัด ส�าหรับอารักษ์ประจ�าวัด ผู้เป็นผีดูแล
พืน้ ท่ขี องวัด
       หอเส้อื ธาตุ ต้ังอยคู่ กู่ บั พระธาตเุ จดยี ์ เปน็ ท่สี ถติ ของ
ผีท่คี ุม้ ครองดแู ลเจดียอ์ งคน์ ้ันๆ
       ค�าว่า “เสือ้ ” เป็นภาษาไท-ลาวโบราณ ปรากฏใน

                                                                        เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๘ 101
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108