Page 78 - CultureMag2015-1
P. 78

ในวยั เดก็ สามเณรทองรว่ งสนใจการเขยี นภาพลายไทย                            เพียงด่านแรกก็มีหลายต่อหลายคนสอบตกไม่เป็นท่า 
อยา่ งยง่ิ   ท้งั เคยดม่ื ด่า� ในรปู ลกั ษณว์ จิ ติ รงามของภาพจติ รกรรม    มีทงั้ หมดความอดทนกลับบ้านไปขึ้นตาลยังสบายกว่า หรือ 
ฝาผนงั  และลายปนู ปน้ั ประดบั โบสถว์ หิ ารอนั พลว้ิ สะบดั  ชนดิ            มิฉะนัน้ ก็อับปัญญา ต�าปนู มา ๓ ปีก็ยังไม่รู้ว่าปนู ทเี่ หมาะจะ
กระหนกเหมอื นไฟจะลกุ และนาคเหมอื นขยบั จะเลอ้ื ยออกมา                      น�าไปปั้นแต่ละลวดลายควรมีเนือ้ แก่อ่อนอย่างไร แบบนีห้ าก
ใหเ้ หน็                                                                   มีความอดทนอย่างสูงก็ยังสามารถเป็นคนต�าปนู ทจี่ ะพัฒนา
                                                                           เปน็  “ชา่ ง” ตอ่ ไปได ้ แมจ้ ะชา้ หนอ่ ย  แตห่ ากมใี จรกั จรงิ ๆ อด
      เม่อื จบนกั ธรรมเอกแลว้  สามเณรทองรว่ งไดย้ า้ ยมาอยู่               ทนจรงิ ๆ กย็ งั สามารถเปน็ ช่างฝมี ือดไี ด้
ทวี่ ัดมหาธาตุเมืองเพชรบุรี และได้พบกับครูพิณ อินฟ้าแสง 
จิตรกรและช่างปูนปั้นผู้มีชื่อเสียงของเมืองเพชรฯ  ด้วย                            ชา่ งปนู ปน้ั เพชรบรุ ที ่ีมชี ่อื เสยี งในปจั จบุ นั น ้ี บางคนเคย
หน่วยก้านท่วงทีและแววช่างศิลปินในตัว ท�าให้ครูพิณรับ                       เปน็ กรรมกรยอ่ ยหนิ มากอ่ นดว้ ยซา้�  มาจบั งานปูนปน้ั กโ็ ลดแลน่  
สามเณรทองร่วงเป็นศิษย์อย่างเตม็ ใจ พร้อมกับถ่ายทอดวิชา                     เพราะเคยชินมาแล้วกับงานหนัก ฝึกใจฝึกมือให้ประสานกัน
ช่างปนู ปั้นตามแบบโบราณ ทีค่ รูทองร่วงในปัจจุบันกล่าวย�้า                  อยา่ งดยี ง่ิ  สามารถปน้ั ปนู ไดร้ าวกบั สรา้ งงานมาจาก “มอื เทวดา” 
ให้ลกู ศษิ ยแ์ ละผสู้ นใจในศลิ ปะไทยไดต้ ระหนักเสมอวา่  “มแี ต่            ทีส่ ูงส่งอลังการ  ทีน่ ่าอัศจรรย์ก็คือทงั้ หมดนี้ครูทองร่วง 
คนอดทนอย่างหนัก มานะพยายามไม่ท้อถอยเท่านั้น ถึงจะ                          เล่าว่า “พรสวรรค์” กลับเป็นอุปสรรคส�าคัญในการพัฒนา 
เป็นช่างปูนปนั้ ฝมี อื ดีได้”                                              งานปูนปั้น เพราะคนเก่งมีพรสวรรค์สูงมักจะใจร้อน เชือ่ มั่น
                                                                           ในตัวเองมาก    อยากออกมารับเหมางานปนู ปั้นด้วยตัวเอง
      คา� พดู ของครทู องรว่ งมไิ ดเ้ กนิ ความจรงิ เลย เพราะงาน             อย่างรวดเร็วเพราะเชือ่ มั่นว่าตนสามารถประดิษฐ์ลายปนู ได้
ปูนปั้นเพชรบุรีท�าแบบวิธโี บราณทุกประการ ช่างปูนปั้นเมือง                  งดงามเพียงพอแล้ว    ในทสี่ ุดก็มักสะดุดชะงักล้มเลิกไปเสีย
เพชรฯ ไม่ว่าระดับใดก็ตามจะต้องผ่านขัน้ ตอนทดสอบความ                        กลางคัน หมดใจรกั  หมดความอดทนไปง่ายๆ 
อดทนอย่างส�าคัญ เริ่มตัง้ แต่การเตรียมปนู ด้วยวิธี “ต�าปนู ” 
นัน่ ทเี ดยี ว                                                                   หมดจากการต�าปูน ได้ขึ้นนัง่ ร้านเป็นช่างอย่างเต็มตัว 
                                                                           ก็ตอ้ งฝึก “ใจ” ใหก้ ล้าหาญในการปีนป่ายขน้ึ ลงนัง่ รา้ น แหงน
      ปรกตแิ ล้วปูนปั้นทีใ่ ช้ประดับตกแต่งลวดลายโบสถ์                      คอชนั แขนอยเู่ ปน็ เวลานานๆ บนแผน่ ไมแ้ คบๆ พาดคา้ งอยา่ ง
วหิ ารนน้ั มใิ ชป่ ูนซเี มนตเ์ ปยี กๆ เหนอะๆ อยา่ งท่เี ราเหน็ ท่ัวไป      นา่ หวาดเสยี วอยตู่ รงหนา้ บนั โบสถ ์ ศาลา แดดรอ้ นเปร้ยี งแผด
แต่เป็นปูนแบบเฉพาะ ท�าขึ้นจากปูนขาว ทรายละเอียด                            เผาก็มีแต่เพียงจีวรเก่าๆ ขึงบัง อาหารกลางวันที่ห่อมาจาก
นา�้ ตาลโตนดหรอื นา้� ตาลทราย (เดมิ ใชน้ ้า� ออ้ ย) กาวหนงั  (เดมิ         บ้านคือข้าวสวยอัดใส่ถุงพลาสติกแน่นโปง่  มีปลาทูครึ่งซีกกิน
ใชเ้ ปลอื กประดเู่ คย่ี วกบั หนงั ววั ) และกระดาษฟาง (เดมิ ใชฟ้ าง         กบั นา้� พรกิ ผกั จม้ิ เปน็ ของแกลม้  จนแสนจนเพราะคา่ จา้ งไมไ่ ดด้  ี
ข้าวแห้ง) ทัง้ หมดนีแ้ ต่ละส่วนยังต้องมีการเตรียมสภาพไว้                   ไปกวา่ กรรมกรรายวนั   หากรจู้ กั เกบ็ หอมรอมรบิ กพ็ อจะลมื ตา 
ล่วงหน้าอีกด้วย เช่นต้องหมักปนู ขาวกับทรายในน�้าใส่ตุ่มดิน                 อ้าปากได้ พัฒนาฝีมือขึน้ เป็นครูช่างสั่งสอนลูกศิษย์เป็นสาย
เอาไว้ถึง ๔ วันก่อนเพือ่ ลดความเค็ม ต้องแช่กระดาษฟางให้                    สกลุ ตา่ งๆ และเม่อื เสรจ็ งานฝากฝมี อื เอาไวบ้ า� รงุ พทุ ธศาสนา
เนื้อเยื่อเปื่อยยุ่ยอีกไม่ต�า่ กว่าครึง่ ชั่วโมง และเมื่อน�าส่วนผสม        อย่างเรียบร้อย ก็มีไม่กีค่ นเท่านั้นนอกจากในหมู่ช่างด้วย
มาใสค่ รกโขลกใหเ้ ขา้ กนั น้นั กต็ อ้ งใชค้ วามสงั เกต คอ่ ยๆ ใสป่ ูน      กนั เองท่ีพอจะจา� ไดว้ า่ มาจากมอื และเปน็ ช่อื ของใคร หากเมอ่ื
ใสก่ ระดาษฟาง ใสน่ า้� ตาลและกาวหนงั ใหไ้ ดจ้ งั หวะ โขลกไปตา� ไป          เวลาลว่ งเลยผา่ น หมดกาลหมดสมยั  ความจา� ลบเลอื น กเ็ หลอื  
คอยสังเกตว่าสัดส่วนไหนทขี่ าดเกินต้องเติมลงให้พอเหมาะ                      เพยี งงานฝากไวเ้ ปน็ มรดกแทนตวั  ใหช้ า่ งรนุ่ หลงั หมนุ เวยี นมา
ตรงน้แี หละท่ีตอ้ งเหง่อื ทว่ ม อดทนอยา่ งสาหสั   ปนู แตล่ ะครก            ศึกษาหาเคล็ดความรู้จากภาพปูนปั้นทเี่ หลืออยู่ ราวจะย�้าให้
เสยี เวลาตา� เปน็ ช่วั โมง สว่ นคนตา� ปนู กต็ อ้ งตา� กนั เปน็ เดอื นเปน็  เหน็ และตระหนกั ถงึ สจั ธรรมท่อี าจารยศ์ ลิ ป ์ พรี ะศร ี เคยกลา่ ว
ปี ฝ่ามือแข็งด้าน ตามซอกนิว้ ซอกเล็บถูกปูนกัดจนแตกยับ                      ไวว้ า่  “ชวี ติ สน้ั  ศลิ ปะยนื ยาว” น่นั คอื ความจรงิ แทข้ องโลกและ 
ต�าปูนอยู่ตาปีตาชาติจนกว่าจะจับเนื้อปูนตา� ขึ้นมาบี้ดูรู้ได้ว่า            ชีวติ อย่างไม่มีพรมแดน 
อ่อนแก่อย่างไร เหมาะสมหรือยังทจี่ ะน�าไปใช้ปั้นประดับ
ตกแตง่ ลวดลาย

76 วฒั นธ รม
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83