Page 39 - CultureMag2015-1
P. 39

สตั วต์ า่ งๆ ใหม้ าเปน็ พระโพธสิ ตั วท์ ่ลี งมาบา� เพญ็ บารม ี  นอก          ๔. ไวยากรณะ คือการอธิบายศัพทต์ า่ งๆ 
จากนี้ก็ยังแทรกเรือ่ งการเวียนว่ายในสังสารวัฏ บุคคลส�าคัญ                     ๕. สโมธาน หรือประชุมชาดก เป็นการแสดงความ
ในเรือ่ งก็จะมาเกิดเป็นพระพุทธองค์ ส่วนบุคคลทเี่ ป็นฝ่าย               สัมพันธ์ของบุคคลในอดีตเชื่อมโยงกับในสมัยพุทธกาล ฝ่าย
ตรงข้ามกับพระโพธสิ ัตว์ ก็จะมาเป็นพระเทวทตั  หรือนาง                   ธรรมะกจ็ ะมาเปน็ พระพทุ ธเจา้ ในปจั จบุ นั  และพระสาวกอ่นื ๆ 
จิญจมานวิกา ผู้ขัดขวางหรือปองร้ายพระพุทธองค์ เป็นต้น                   ส่วนฝ่ายอธรรมะก็คือบุคคลทีม่ ุ่งร้ายต่อพระองค์ เป็นต้น 
ดว้ ยลกั ษณะน้ ี เรอ่ื งในอดตี จงึ กลายมาเปน็ ชาดกโดยสมบรู ณแ์ บบ
                                                                       กา� เนดิ ของปญั ญาสชาดก
       สมัยทพี่ ระพุทธเจ้าทรงด�ารงพระชนม์อยู่ พระองค์
ทรงใช้ชาดกเป็นเครือ่ งมือสอนใจพุทธบริษัท และชาดกก็เป็น                        ชาดกในฐานะท่เี ปน็ สว่ นหน่งึ ของพระสตู รหรอื สตุ ตนั - 
วธิ หี นง่ึ ในการสอนธรรมะของพระองค ์ นบั เปน็ กศุ โลบายท่ดี ยี ง่ิ     ตปฎิ กไดแ้ พรห่ ลายในหลายประเทศท่ีรบั พระพทุ ธศาสนาเปน็
                                                                       ศาสนาประจ�าชาติ และเป็นเครือ่ งมือในการสอนหรือขยาย
องค์ประกอบของชาดก                                                      ธรรมะให้แจ่มแจ้งขึ้น เพราะพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ไม่
                                                                       สามารถเข้าถึงธรรมะได ้ หากไม่มีการเปรยี บเทยี บให้เห็นได้
       องค์ประกอบของชาดกมีดังน้ี
       ๑. ปัจจุบันวัตถุ คือเรือ่ งราวในปัจจุบัน (หมายถึง                      ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งทนี่ ับถือพระพุทธ-
ในช่วงเวลาทพี่ ระองค์ทรงด�ารงพระชนม์อยู่) ทเี่ ป็นเหตุให้              ศาสนา ชาดกมีความส�าคัญและมีบทบาทในสังคมไทยตลอด
พระพทุ ธเจา้ ทรงยกชาดก (เร่อื งในอดตี ) มาแสดงแกพ่ ทุ ธบรษิ ทั         มา ประมาณว่าในปีพุทธศักราช ๒๐๐๐ - ๒๒๐๐ ตามพระมติ
ตวั อย่างปัจจุบันวัตถุ ดังเช่น ในเวสสันดรชาดก คือ เรือ่ งฝน            ของสมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ ได้มีพระภิกษุชาว
โบกขรพรรษาทีต่ กมาในทีป่ ระชุมของพระญาติในสากยวงศ์                     เชียงใหม่แต่งชาดกขึน้ ใหม่ เลียนแบบชาดกในพระไตรปิฎก 
ภกิ ษทุ ้งั หลายจงึ สนทนากนั วา่ เปน็ เรอ่ื งมหศั จรรยท์ ่ีฝนน้ตี กลง  โดยมีองค์ประกอบเช่นเดียวกับของเดิม (เว้นแต่ไม่มีไวยา-
มาไมเ่ คยมปี รากฏ พระพทุ ธเจา้ จงึ ทรงอธิบายวา่ ฝนน้มี ไิ ดม้ แี ต่    กรณะ) มีจ�านวนทัง้ สิ้น ๖๑ เรื่อง ซึง่ ไม่ตรงกับชือ่ ของชาดกที่
เฉพาะปัจจุบันกาลเท่านัน้  แม้ในอดีตก็มีเช่นกัน จากนัน้ ทรง             วา่  “ปญั ญาสชาดก” หมายถงึ ชาดก ๕๐ เรอ่ื ง  การท่ีเปน็ เชน่ น้ ี
ยกเรอ่ื งเวสสันดรชาดกมาเทศนา                                           แสดงว่ามีการแต่งเติมขึ้นในสมัยหลัง พระมติของสมเด็จฯ 
       ๒. อดีตวัตถุ คือเรือ่ งในอดีตของพระพุทธเจ้าทีท่ รง              กรมพระยาด�ารงราชานภุ าพน้ี มนี กั วชิ าการบางคนโตแ้ ยง้ โดย
บ�าเพ็ญบารม ี หรือเรยี กสัน้ ๆ ว่าชาดก ซงึ่ แปลวา่ เร่อื งในอดตี       แสดงหลักฐานว่า ปัญญาสชาดกน่าจะมีอายุเก่าแก่กว่านั้น 
       ๓. คาถา เป็นร้อยกรอง กล่าวแสดงสุภาษิตหรือ                       เพราะในสมัยสุโขทยั  ปัญญาสชาดกก็เป็นทีร่ ู้จักเผยแพร่แล้ว 
ธรรมะ คาถาเป็นองค์ประกอบของชาดกทมี่ ีอายุเก่าทสี่ ุด                   และผู้แต่งปัญญาสชาดกไม่น่าจะเป็นชาวเชียงใหม่ เพราะ
และมีความไพเราะ                                                        อาณาจกั รเชยี งใหม่ยังไม่มีการสถาปนา

“
ภาพจิตรกรรมฝาผนงั
เรือ่ งสุวรรณสังขชาดก 
พระอุโบสถวดั สทุ ศั นเทพวราราม
กรงุ เทพฯ

                                                                       มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๘ 37
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44