Page 40 - CultureMag2015-1
P. 40
ชาดกนอกพระไตรปิฎก
ภาพจิตรกรรมฝาผนงั
เมื่อมีการรจนาปัญญาสชาดกขึน้ เป็นภาษาบาลีโดย เร่ืองสมุทรโฆษ
เลียนแบบชาดกในพระไตรปิฎก ดังนั้นท่านผู้รู้จึงเรียกว่า พระอุโบสถวัดสุทศั นเทพวราราม
“ชาดกนอกพระไตรปฎิ ก” ซงึ่ มจี า� นวนมาก สว่ นใหญม่ มี ากใน กรุงเทพฯ
อาณาจักรล้านนา แต่ถึงกระนัน้ เราไม่เรียกชาดกนอก
พระไตรปิฎกเหล่านั้นว่าปัญญาสชาดก สงวนใช้เฉพาะชาดก ๑. จนั ทคาธชาดก
๖๑ เรอื่ งเท่านนั้ ๒. ทกุ ัมมานิกชาดก
๓. เทวันธชาดก
ความส�าคัญของปัญญาสชาดกในทัศนะของพุทธ- ๔. ปาจติ ตกุมารชาดก
ศาสนิกชนไม่ได้รับการยอมรับเท่ากับชาดกในพระไตรปิฎก ๕. รถเสนชาดก
เพราะถือว่าเป็นการปลอมพระพุทธวัจนะ แต่กระนั้นก็เป็นที่ ๖. วนาวนชาดก
นิยมแพรห่ ลายในหมูช่ าวไทยมาชา้ นาน ๗. วรนุชชาดก
๘. วรวงสชาดก
ในชั้นแรกการถ่ายทอดอยู่ในรูปของวรรณกรรม ๙. สรรพสทิ ธชิ าดก
มุขปาฐะ ต่อมากวีน�าเรือ่ งการพลัดพรากของคู่พระคู่นาง ๑๐. สมุททโฆสสชาดก
ในชาดกบางเรื่องมาเปรียบกับความสขุ ของตน ดังเช่น ๑๑. สงั ขปัตตชาดก
๑๒. สทิ ธสิ ารชาดก
ผยองม้ามณกี ากยเ์ ก้ือ ฤทธี ก็ดี ๑๓. สริ วิ ิบลุ กิตติ์ชาดก
สองส่สู องเสวอยรมย แท่นไท้ ๑๔. สิโสรชาดก
เพรงพินธบุ ดีพลัด พระโฆษ ๑๕. สุภมติ ตชาดก
ขอนขาดสองหว้ายไส้ จากเจยี ร ๑๖. สธุ นชาดก
๑๗. สุวรรณวงศชาดก
(ในทีน่ ้ีอา้ งถึง สุธนูชาดก และ สมุททโฆสชาดก) ๑๘. สวุ รรณสังขชาดก
๑๙. สุวรรณสิรสาชาดก
นอกจากนี้กวีก็ยังน�าเรือ่ งราวจากปัญญาสชาดกมา
แต่งเป็นกวีนิพนธ์ในรูปแบบต่างๆ และได้กลายเป็นบ่อเกิด ในจ�านวนนช้ี าดกในปัญญาสชาดกเรือ่ งที่ได้รับความ
ส�าคัญของวรรณกรรมร้อยกรองของไทย นายธนิต อยู่โพธิ ์ นยิ มสงู สดุ คือ รถเสนชาดก
ผเู้ ชย่ี วชาญวรรณคดไี ทยและอดตี อธบิ ดกี รมศลิ ปากรไดอ้ ธบิ าย
ถงึ ความส�าคญั ของปญั ญาสชาดกไวว้ า่ “เปน็ เสมอื นเสน้ โลหติ
ท่ีแลน่ ไปทัว่ สรรพางค์กายแหง่ วรรณคดีไทยของเรา”
ในวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตเรื่อง “ปัญญาสชาดก :
ประวัติและความส�าคัญทีม่ ีต่อวรรณกรรมร้อยกรองของไทย”
ของศาสตราจารย ์ ดร. นยิ ะดา เหลา่ สนุ ทร ผวู้ จิ ยั ไดน้ า� เสนอวา่
ชาดกในปัญญาสชาดกทมี่ ีความส�าคัญในด้านทีม่ าต่อวรรณ-
กรรมร้อยกรองของไทยทงั้ ทเี่ ป็นต้นฉบับตวั เขียนและฉบับ
พิมพม์ ีทงั้ ส้ิน ๑๙ เร่ือง ดงั น้ี
38 วัฒนธ รม