Page 27 - CultureMag2015-1
P. 27

<
มคี �ากล่าวกันวา่  หนังตะลุงอสี าน
เสมือนหมอลา� ทใี่ ช้รปู หนงั แสดงแทนคนจริง
คนเปน็ หัวหน้าคณะหนงั ตะลุงอสี านจงึ มกั ต้อง
มีพนื้ ฐานการร้องลา� แบบพืน้ บา้ นอสี าน 
เชน่ เดียวกับหวั หนา้ คณะละดาวลั ยห์ นังตะลงุ
คนนีท้ ่ีเธอกเ็ คยเล่นหมอลา� มาก่อน

ยังกันดารเรื่องการเดินทาง แต่ละภูมิภาคยังไม่ได้ไปมาหากัน                    การเดนิ เรอ่ื งในหนงั ตะลงุ อสี านจะมกี ารบรรยายความ 
โดยสะดวกเช่นทุกวันนี ้ แต่ก็พอมีคนใต้คนอีสานเข้ามาอยู่ใน              รสู้ กึ ของตวั ละครและบทเจรจา ซง่ึ สา� หรบั เรอ่ื งท่เี ปน็ วรรณคดี
เมืองหลวงแล้ว ถึงช่วงเทศกาลเจ้าเมืองให้หามหรสพประจ�า                  พืน้ บ้านจะใช้ภาษาอีสานทงั้ หมด  ส่วนทเี่ ป็นวรรณคดีทวั่ ไป 
ถิน่ ของตนมาเล่น  นายตือ้ คนใต้กลับไปน�าคณะหนังตะลุง                  ตัวพระ ตัวนาง ยักษ์ เจ้าเมือง จะเจรจาเป็นภาษากลาง 
จากปักษใ์ ตข้ ึ้นมาแสดงในงาน                                          ตัวละครอื่นนอกนัน้ พูดภาษาอีสาน ยกเว้นปลัดตือ้ -ในบาง
                                                                      คณะจะพูดสา� เนยี งปักษ์ใต้
      เจ้าเมืองพอใจมาก แต่งตัง้ ให้เขาเป็น “ปลัดตื้อ” ใน
บัดนัน้   ส่วนนายป่อง นายแก้ว นายแหมบ ซึ่งเป็นชาวอีสาน                      ส่วนการบรรยายซึง่ อาจเป็นการบอกเรือ่ งทีด่ �าเนินไป 
ทมี่ าอยู่เมืองหลวงและได้ดูหนังตะลุงปักษ์ใต้ด้วย ก็ชืน่ ชอบ           หรือบอกอารมณ์ความรู้สึกของตัวละคร จะมีการล�าเต้ย 
ถงึ ข้นั หดั เลน่ และกลบั มาแสดงใหค้ นท่บี า้ นเกดิ ด ู  คนกพ็ ากนั   ลา� เพลนิ  ลา� เดนิ กลอน ซ่งึ มที ว่ งท�านอง ดนตร ี ลลี าการขบั รอ้ ง
ถามวา่ ไปไดม้ าจากไหน  พวกท่ีเลน่ กต็ อบวา่ ไดม้ าจากปลดั ต้อื        เชน่ เดียวกับการล�าของหมอล�า
ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า หนังปลัดตือ้  หนังบักตือ้   พอเล่นกัน
กวา้ งขวางออกไป คนกเ็ รม่ิ เรยี กตามคนเลน่ ท่ีเปน็ คนอสี านวา่              ถึงแม้ว่าหนังตะลุงเป็นศิลปะการแสดงจากต่าง
หนงั บกั ปอ่ งบกั แกว้   สว่ นช่อื  “หนงั ประโมทัย” “หนงั ปะโมทยั ”   วัฒนธรรม แต่เมื่อมาเป็นหนังประโมทยั อยู่ในถิ่นอีสานก็ได้มี
หรือ “หนังปราโมทัย” นั้นเป็นชื่อเรียกในภาษากลาง ซึง่                  การประยุกต์ปรับเปลีย่ นจนสอดคล้องกลมกลืนกับพื้นสังคม
ชาวบา้ นท่วั ไปไม่ค่อยมีใครเรยี กชอ่ื น้ี                             วัฒนธรรมของชาวอีสาน  

      แต่หนังตะลุงอีสานต่างจากหนังตะลุงปักษ์ใต้อย่าง                        กระทัง่ กลายเป็นมหรสพท้องถิ่นแขนงหนึ่งของอีสาน
สิน้ เชิงในแง่ “คนเล่น” ทีท่ างถิน่ ใต้เรียกว่า “นายหนัง” ซึ่งจะ      อยา่ งเตม็ ภาคภูมใิ นทกุ วันน้ี
ทา� หนา้ ท่ีชกั เชดิ  ขบั กลอน บรรยาย พากยเ์ สยี งตวั ละครทุกตวั  
แตห่ นงั ตะลงุ อีสานแสดงรว่ มกนั เปน็ คณะโดยม ี “หวั หนา้ คณะ”              ส่วนว่าในกาลข้างหน้าจะเป็นอย่างไร สมบัติ ยอด-
เป็นผู้น�า  ส่วนลูกทมี แต่ละคนอาจรับผิดชอบรูปหนังตัวเดียว             ประทมุ  หัวหน้าคณะมชี ยั หนงั ตะลุงกล่าวในท่วงทีถอ่ มตนแต่
หรือมากกว่านัน้  และอาจทงั้ เชิดทงั้ พากย์ หรือแบ่งกันทา�             ม่ันใจวา่  
คนละอย่างกไ็ ด้
                                                                           “หากคนอีสานเฮาเซาเอาบุญนั่นละ หนัง
                                                                      ประโมทยั อาจสหิ มดไป”

                                                                             

                                                                      มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๘ 2๕
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32