Page 30 - CultureMag2015-1
P. 30
ครูจีนสองท่านนี้ไม่ปรากฏชือ่ แน่ชัด แต่คนเกาะยอ
เรียกกันต่อๆ มาว่า “ครูยี่สุ่น” (หรือยีห่ ลุ่น) กับ “ครูพุดดิน้ ”
ครูชาวจีนยังสอนชาวเกาะยอให้ทอผ้าด้วยกีก่ ระตุกเป็น
คร้งั แรก และคงใชส้ บื เน่อื งมาจนกระท่งั ทกุ วนั น ้ี นอกจากน้นั
ยงั สอนการย้อมเสน้ ใยดว้ ยสีเคมีดว้ ย
คุณตากริม้ เล่าว่าระหว่างสงครามโลกครัง้ ท ี่ ๒ เส้น
ใยต่างๆ หายาก ครั้งหนึง่ เคยมีทหารญี่ปุ่นน�าถุงเท้าจ�านวน
มากมาขอแลกกับน�า้ ดืม่ ทเี่ กาะยอ คุณตายังต้องเลาะเส้นใย
จากถงุ เท้ามาใช้ทอผ้า
หลงั สงครามโลก คนท่ีอยอู่ าศยั บนเกาะยอมจี า� นวน
ลดนอ้ ยลง และผคู้ นกห็ นั ไปนยิ มใชผ้ า้ จากโรงงานมากกวา่ ผา้
เกาะยอจงึ ถกู ลมื เลอื นไป แมแ้ ตต่ วั คณุ ตากรม้ิ เองกห็ ยดุ ทอผา้
ไปนานกวา่ ๓๐ ป ี
ผ้าทอเกาะยอถูกรื้อฟื้นขึ้นใหม่ประมาณปี ๒๕๑๗
โดยสมาคมสตรีนักธุรกิจและวิชาชีพแห่งประเทศไทย ใน
พระบรมราชินูปถัมภ์ สาขาจังหวัดสงขลา น�าโดย คุณหญิง
ชื่นจิตต์ สุขุม ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ อาทิ กรมส่งเสริม
อุตสาหกรรม
ในคร้งั น้นั มกี ารคน้ หาและรวบรวมชา่ งทอรนุ่ เกา่ ฝมี อื
ดหี ลายคนรวมท้งั คณุ ตากร้มิ ใหม้ าชว่ ยกนั ถา่ ยทอดความรใู้ ห้
แกช่ า่ งทอรนุ่ ใหม ่ แมเ้ วลาจะผา่ นมานานแตค่ ณุ ตายงั สามารถ
จดจ�าวิธีเก็บดอกผูกลายได้เป็นอย่างดี และน�ามาเขียนเป็น
แผนภาพแสดงการยกตะกอขึน้ -ลงให้คนรุ่นหลงั ไดเ้ ห็นชดั เจน
อกี ด้วย
ผ้าทอเกาะยอทีห่ ายสาบสูญมาหลายสิบปีจึงหวน
กลบั คนื สตู่ ลาดอกี คร้งั เกดิ ชา่ งรนุ่ ใหมท่ ่หี นั มายดึ อาชพี ทอผา้
กนั มากขน้ึ แตห่ ลงั จากน้นั มาอกี ราวสบิ กวา่ ป ี ผา้ ทอเกาะยอ
ก็กลับซบเซาลงอีกครัง้ สาเหตุส�าคัญประการหนึง่ คือการ
สรา้ งสะพานตณิ สลู านนทข์ า้ มทะเลสาบสงขลา เช่อื มระหวา่ ง
เกาะยอกับตัวเมือง ท�าให้การคมนาคมสะดวก คนรุ่นใหม่จึง
นยิ มไปทา� งานในเมืองกนั มากขึน้
ผ้าลายโกเถย้ี ม
หรอื ลายห้า-หนึ่ง
28 วัฒนธ รม