Page 31 - CultureMag2015-1
P. 31

คุณอัญชลี ทองคง หรือ “คุณกบ” เจ้าหน้าทศี่ ูนย์ 
ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์
วิทยาเขตหาดใหญ่ เล่าว่าเมือ่ ศูนย์ส่งเสริมฯ เข้าไปศึกษา 
เกบ็ ขอ้ มลู ผา้ ทอเกาะยอในป ี ๒๕๓๕ นน้ั  มชี า่ งทอผา้ เหลอื อยู่
ไม่มากนัก ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ  ดังนัน้ จึงมีความพยายาม
สง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี การทอผา้ ของคนเกาะยอเพ่อื มใิ หผ้ า้
เกาะยอสูญหายไปอีกครั้งหนึง่ เป็นรอบที ่ ๒  โดยได้รับความ
ร่วมมอื ท้งั จากภาครฐั และเอกชน  

       ในการนี้ก็ยังคงมีคุณตากริ้มเป็นทีป่ รึกษาคนส�าคัญ
ของกลุ่มทอผ้า และเป็นผู้ถ่ายทอดวิชาคนส�าคัญ ด้วยว่า 
คุณตายังจดจ�าลวดลายและวิธีการเก็บดอกได้ดี และคุณตาก ็
ชอบคดิ คน้ ลายใหมๆ่  เชน่  ลายดอกพกิ ลุ  หรอื ลายจนั ทรห์ อม 
ที่ประยกุ ต์มาจากลายลกู แกว้  เปน็ ต้น

       ในท่ีสดุ ความพยายามกป็ ระสบผลสา� เรจ็  ผา้ เกาะยอ 
กลายเป็นสุดยอดสินค้า OTOP ปี ๒๕๔๙  และได้รับการ 
ขึน้ ทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาต ิ
สาขางานช่างฝีมือดัง้ เดิม ประจ�าปี ๒๕๕๗ โดยกรมส่งเสริม
วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม

       ปจั จบุ นั มกี ลมุ่ ทอผา้ ในเกาะยอหลายกลมุ่  เชน่  กลมุ่
ผา้ ทอรม่ ไทร กลมุ่ ผา้ ทอเกาะยอปา้ ล่มิ  กลมุ่ ผา้ ทอกระแสสนิ ธ์ุ 
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทอผ้าเกาะยอ กลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าทอ 
ดอกพกิ ลุ  กลมุ่ ราชวตั ถ ์ แสงสอ่ งหลา้ ท่ ี ๑ เปน็ ตน้   สว่ นเสน้ ใย 
ทใี่ ช้ทอผ้าส่วนใหญ่เป็นไหมประดิษฐ์ ย้อมด้วยสีเคมี มีบ้างที่
ทอด้วยฝ้ายแต่จ�านวนไม่มากนัก  ช่างทอส่วนใหญ่สั่งซื้อ
วัตถุดิบต่างๆ จากร้านป้าลิ่มซึง่ เป็นตัวแทนจ�าหน่ายรายใหญ่
ของเกาะยอ  

       ลวดลายในเนือ้ ผ้าของผ้าเกาะยอเกิดจากการผูก
ตะกอร้อยด้ายเส้นยืน ปรากฏลายซ�า้ ๆ กันไปตลอดทงั้ ผืน 
ในปัจจุบันยากที่จะแยกลวดลายเฉพาะถิน่ เกาะยอออกจาก
ลวดลายผ้าทอยกดอกของท้องถิ่นอืน่  เพราะช่างทอก็มักจะ
หยบิ ยมื ลายกนั ท่ัวไป แตล่ ายท่มี ชี อ่ื เสยี งของผา้ เกาะยอคอื ลาย

                                              ผ้าลายดอกชวนชม 
                                              ตั้งชอื่ ตามดอกไม้

                                                                          มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๘ 29
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36