Page 22 - CultureMag2015-1
P. 22
หนงั ตะลงุ ทรี่ กู้ ันทวั่ ไปวา่ ในท้องถิ่น บุญลี หัวหน้าคณะ ส. ส�าลี หนังประโมทัยลาว
เปน็ มหรสพคู่ทอ้ งถิ่นใต้นั้น ไสว ละดาวลั ย ์ หวั หนา้ คณะละดาวลั ยห์ นงั ตะลงุ และ สมบตั ิ
ในแดนอสี านก็มีเล่นกันมา ยอดประทุม หัวหน้าคณะมีชัยหนังตะลุง ทุ่มเทเวลามาเป็น
เปน็ ร้อยปแี ล้ว วทิ ยากรตลอดการฝก อบรม
อาจไม่หวือหวาเปรีย้ งปร้างอย่างมหรสพที่ขายความวับๆ เรียนรู้กันตัง้ แต่การท�าตัวหนัง ซึง่ เป็นองค์ความรู้ที่
แวมๆ แต่หนังตะลุงอสี านก็มีทยี่ ืนอยู่ยงมาจนปัจจุบัน มี ถ่ายทอดต่อกันมาแต่โบราณ รูปหนังประโมทัยมีตัง้ แต่ตัว
การสืบสานต่อจาก “พ่อครูแม่ครู” ศิลปินพื้นบ้านสู่ลูกหลาน เล็กๆ สูงเพียงคืบจนถึงสูงเป็นศอก และก็เช่นเดียวกับหนัง
เยาวชนร่นุ นี้ ตะลุงภาคใต้ รูปหนังส่วนใหญ่อยู่ในท่าหันเฉียงข้าง แขนข้าง
หน้าของตัวพระตัวนางขยับได้ ชุดและเครื่องประดับทีส่ วมใส่
แถบรอยต่อร้อยเอด็ -มหาสารคามมีหนังประโมทัย แกะลวดลายอย่างละเอียดวิจิตรและลงสีจัดจ้าน ต่างจาก
นับสิบคณะปักป้ายรับงานแสดงอยู่ในพืน้ ท ี่ แต่ละคณะมีข้อ ตัวประกอบทีม่ ักเป็นสีทึบทมึ แต่ขยับได้ทัง้ ปากและแขนขา
แตกตา่ งกนั ในรายละเอยี ดของการเลน่ การแสดง ตวั หนงั และ บางตัวเคลอ่ื นไหวเอวและถอดกางเกงได้ด้วย
จอหนงั เล็กใหญไ่ มเ่ ทา่ กนั
ทา� รูปหนงั ไดแ้ ลว้ ก็ฝกเรือ่ งการแสดง
เล่นแบบมีวงดนตรีสมัยใหม่ เล่นสดครบวง กลองชุด “การฝกเด็กตอนแรกก็บอกบทใหเขาจดไวอานกอน
กีตาร์ เบส แซ็กโซโฟน ซอ พิณ แคน หรือเล่นโดยใช้ดนตรี แลวฝกออกเสียงวากลอนเตยรองแบบนี้ๆ ใหเขาทองตาม
สา� เร็จรปู ในอิเลก็ โทนตัวเดียว เตยนี่เปนทาํ นองรองสนุกๆ ตอนตัวละครตัวไหนจะเขาจะ
ออกก็เตยได ลําเตยผานปากตัวละครนัน่ แหละ” ไสว ละดา-
เล่นแบบประยุกต์เข้ากับหมอล�าเต้ยหมอล�าซิง่ เล่น วัลย์ หรือแม่ครูติ๋ม เล่าขั้นตอนการฝกศิษย์เล่นหนัง “กลอน
แบบทะลจุ อโดยมตี วั แสดงเปน็ คนจรงิ ดว้ ย หรอื เลน่ แบบดง้ั เดมิ เตยกลอนลําแทรกอยูในเรื่อง เปนกลอนเดิมๆ แตเสนหอยูที่
เจ้าภาพก็เลือกจ้างเอาได้ตามความชอบและงบประมาณ นา้ํ เสยี งการลาํ หาคนทําไดย าก ตอ งใชคนเสียงสูง”
ถ่ายทอด ฝกฝน ซ้อมมือ ทวนบทของตัวเองซ�า้ ๆ จน
หรอื บางทกี เ็ ปน็ คณะท่ีเกดิ จากการรวมตวั กนั เฉพาะกจิ แมน่ ยา� สมุ้ เสยี งและทว่ งทา่ การเคลอ่ื นไหวรปู เงากลมกลนื กนั
“เราเปนเครือขายกันหมด ใครรับงานมาก็ดึงเพือ่ น ประหน่งึ มชี วี ติ เลอ่ื นไหลตามการดา� เนนิ ไปของเน้อื เร่อื ง กถ็ งึ
ไปชวยกันได” บุญลี พลคํามาก เจ้าของคณะ ส. ส�าลี หนัง คราวไดอ้ อกไปแสดงฝีมือ
ประโมทัยลาว ยนื ยนั ถึงมิตรภาพในหมู่ศิลปินพน้ื บา้ น หนังประโมทัยส่วนใหญ่เล่นเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นหลัก
และเมือ่ จะมีการถ่ายทอดฝีมือการแสดงสู่ลูกหลาน แตค่ ณะเพชรอสี านเลน่ เรอ่ื ง สนิ ไซ ซง่ึ พอ่ ครบู ญุ ลถี อดเร่อื งราว
รุ่นหลงั เขาก็ระดมกันมาสอนศลิ ปแก่ศิษย์ มาจาก “ฮปู แตม้ ” หรอื จติ รกรรมฝาผนงั สมิ (โบสถ)์ วดั โพธาราม
“คณะเพชรอีสาน พอ เปน คนทําใหเ กดิ ข้นึ มา แรงเดยี ว ในหมู่บ้านดงบังน่นั เอง
ไมพ อก็ไปเอาแมต ิ๋ม เอาพอโปง เปงมาชวย” เนื้อเรื่องเป็นทรี่ ู้กันอยู่แล้วในหมู่ชาวถิน่ แต่ทุกครัง้ ที่
มารวมตัวกันในโครงการเรียนรู้กับครูภูมิปัญญา ที่ หนังประโมทยั กางจอก็ยังคงดึงดูดคนให้มาปเู สือ่ นั่งดูได้เป็น
โรงเรยี นดงบงั พสิ ยั นวการนสุ รณ ์ ในชมุ ชนดงบงั อา� เภอนาดนู ค่อนคืน ด้วยรสรืน่ รมย์และมนต์เสน่ห์ของการแสดงอันมาก
จงั หวดั มหาสารคาม นอ้ ยตามความสามารถของคนเลน่
กระบวนการถ่ายทอดความรู้และฝกฝีมือทา� กันอย่าง
เป็นระบบ โดยพ่อครูแม่ครูทเี่ ป็นหัวหน้าคณะหนังประโมทัย >
(บน) การเล่นหนงั ตะลุงอสี านมขี อ้ หา้ ม-ความเชื่อไมเ่ คร่งครดั มาก
อยา่ งหนังตะลงุ ปก ษ์ใต ้ แต่พธิ ีไหว้ครเู ปน็ เรอื่ งหน่งึ ทขี่ าดไม่ได้
ในการปลกุ ขวัญกา� ลังใจและสร้างความม่นั ใจใหแ้ ก่ชาวคณะทกุ คน
(ล่าง) ตามขนบของหนงั เงา ต้องเลน่ ยามกลางคืนท่ปี ราศจากแสง
รบกวน แตท่ กุ วนั นบ้ี างทีหนังตะลุงอีสานก็ตอ้ งยอมเปดิ เวทีกอ่ นเวลา
เพือ่ ใหม้ โี อกาสได้เขา้ ถงึ คนดูทกุ กลมุ่
20 วัฒนธ รม