Page 104 - CultureMag2015-1
P. 104
และท่ีราบระหวา่ งหบุ เขาเพ่อื ตง้ั ถน่ิ ฐาน ท้ังนใ้ี นวฒั นธรรมไทย ต่อมาเมื่อมีพัฒนาการมาใช้โครงสร้างท�าด้วยไม้จริง
เรียกเมืองทตี่ งั้ อยู่ตามหุบเขาซึง่ มีล�าน�้าและการจัดการชล- ท�าให้ไม่สามารถดัดเป็นโครงโค้งเช่นเดิมได้ หลังคาจึงมี
ประทานแบบพื้นฐานเพือ่ การเพาะปลูกท�านาเช่นนี้ว่า “เมือง ลกั ษณะเปน็ หลงั คาแบบปน้ั หยา (hip gable) แตก่ ย็ งั สะทอ้ น
โหลง่ ” หรอื “เมอื งแกน” ซง่ึ ตรงกบั ในลา้ นนากเ็ รยี กชมุ ชนท่ตี ้งั รูปแบบทีเ่ ชือ่ มโยงกับจารีตและความหมายของหลังคาเรือน
ถิน่ ฐานในพืน้ ทีล่ ักษณะนี้ว่า “โหล่ง” เช่นกัน โดยหากเป็น ของกลุ่มคนไทในอดตี ไวไ้ ด้
ชุมชนขนาดเล็กก็จะเรียกว่า “โหล่งบ้าน” และหากเป็นชุมชน
ขนาดใหญร่ ะดับเมืองกจ็ ะเรียกว่า “โหลง่ เมอื ง” การตั้งถิ่นฐานรวมตัวกันเป็นชุมชนในอดีตจะบุกเบิก
พืน้ ทรี่ าบระหว่างหุบเขาส�าหรับท�านา และตั้งบ้านเรือนในที่
การเลือกพืน้ ทีต่ ัง้ ชุมชนและเมืองให้แวดล้อมไปด้วย ลาดเชิงเขาใกล้กับป่าซึ่งมีภยันอันตรายนานัปการ การปลูก
ภูดอยยากทีจ่ ะเข้าถึง ก็เนือ่ งจากต้องการใช้ภูมิลักษณ์ของ เรอื นยกพ้นื สงู จากพน้ื ดนิ จงึ ชว่ ยใหร้ อดพน้ จากสตั วร์ า้ ย อกี ท้งั
ภูเขาซับซ้อนทา� หน้าทีซ่ ่อนเร้นผู้คนจากศัตรู นอกจากนี้ยังมี สตั วเ์ ลอ้ื ยคลานท่มี พี ษิ ตา่ งๆ เรอื นยกพน้ื จงึ ชว่ ยใหผ้ อู้ ยอู่ าศยั
ความจ�าเป็นทตี่ ้องเก็บทรี่ าบไว้ส�าหรับการเกษตรกรรม จะ ในเรือนน้ันปลอดภยั อีกด้วย
เห็นได้ว่าการสร้างหมู่บ้านจะถูกก�าหนดให้สร้างขึน้ บนพื้นที่
ลาดเชิงเขาทีไ่ ม่ไกลจากแหล่งเกษตรกรรมมากนัก การสร้าง นอกจากนี้มีการศึกษาทนี่ ่าสนใจชิน้ หนึง่ เกี่ยวกับ
เรอื นยกพ้นื จงึ มคี วามหมายอยา่ งมาก เน่อื งจากสามารถสรา้ ง “เรอื นลาว” ในหลวงพระบาง ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ กลมุ่ คนท่พี ดู ภาษา
คร่อมบนทีล่ าดเชิงเขาได้โดยไม่ต้องปรับสภาพพื้นทีม่ ากนัก ตระกูลไทกลุ่มหนึง่ (Sophie Clément-Charpentier &
ซง่ึ เปน็ การลดภาระในการจดั สรรทรพั ยากรและแรงงานในการ Pierre Clément. L’habitation lao: Dans les regions
กอ่ สร้างลงได้มาก de Vientiane et de Louang Prabang. 1990) มขี อ้ สงั เกต
ว่าการยกพื้นของเรือนลาวทีส่ ูงจากพืน้ ดินมากนัน้ มีส่วนช่วย
นอกจากน้ยี งั ท�าใหต้ วั เรอื นไมข่ วางทางน้�ายามมนี ้า� ปา่ ให้เจ้าของเรือนปลอดภัยจากยุงก้นปล่องซึง่ เป็นพาหะของ
ไหลหลากลงมา นา้� จงึ ลอดใตถ้ นุ บา้ นไปได ้ ไมท่ า� ความเสยี หาย ไข้ป่าหรือโรคมาลาเรีย ซึ่งเป็นโรคระบาดทีค่ ร่าชีวิตผู้คนใน
มากนัก อดีตมากมาย เนือ่ งจากยุงก้นปล่องบินสูงจากพื้นดินไม่มาก
นัก
รูปแบบของ “สถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ทอี่ ยู่อาศัย” (Ver-
nacular dwelling House) อันเป็นอตั ลักษณ์ของกลุ่มคนท ี่ ในทีร่ าบลุ่มทีม่ ีน�้าหลากท่วมเป็นประจ�าทกุ ปี เช่น
ตัง้ ถิน่ ฐานในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือการสร้าง ทีร่ าบภาคกลางของไทย และทีร่ าบลุ่มแม่น�า้ โตนเลสาบ
บ้านเรือนด้วยไม้ตามระบบเสาและคาน ในลักษณะเรือน (ทะเลสาบเขมร) คณุ ลกั ษณะของเรอื นยกพน้ื สงู กม็ ปี ระโยชน์
ยกพ้นื สงู มหี ลงั คาทรงจ่วั ซง่ึ เดมิ ทใี ชโ้ ครงสรา้ งหลงั คาทา� ดว้ ย อย่างอเนกอนันต์ ทที่ า� ให้ผู้คนสามารถอาศัยอยู่ในพื้นทีน่ �า้
ไม้ไผ่ แล้วมุงด้วยวัสดุธรรมชาติ อาทิ หญ้า และใบปาล์ม หลากท่วมได้
ตา่ งๆ โครงสรา้ งหลงั คาสว่ นดา้ นสกดั (หวั เรอื น) ท้งั ดา้ นหนา้
และดา้ นหลงั จะทา� เปน็ หลงั คาโอบคลมุ ลงมา อนั แสดงใหเ้ หน็ ความหมายของพ้นื ท่ีใตถ้ นุ เรอื นท่นี า่ สนใจมากขน้ึ พบ
ถึงคุณลักษณะของการปิดล้อม แสดงถึงความอบอุ่นและ ได้จากการศกึ ษาเรอื นของกลมุ่ คนไทในเวยี ดนาม
ปลอดภยั
คนไทกลุ่มนีย้ ังคงคุณลักษณะของคนไทแบบบุพกาล
รูปทรงหลังคาแบบดัง้ เดิมทขี่ ึน้ โครงหลังคาด้วยโครง ก่อนทีจ่ ะรับนับถือเอาศาสนาพุทธมาเป็นส่วนหนึง่ ของ
สรา้ งไมไ้ ผ ่ ซ่งึ สามารถทา� หลงั คาดดั โคง้ แบบโครงรม่ ยงั ตกคา้ ง วัฒนธรรม พบว่าส่วนใหญ่ใช้ใต้ถุนเรือนบ้านเก็บข้าวของ
เป็นมรดกทางภูมิปัญญาทมี่ ีทงั้ ความหมายและความงาม เคร่อื งใช ้ และเปน็ พ้นื ท่ีทา� งานประจา� วนั ของสตร ี รวมไปถงึ ใช้
อยู่ในเรือนของไทด�าทีเ่ รียกว่า “หลังคาทรงกระดองเต่า” ซึ่ง เปน็ คอกสตั ว ์ แตก่ ไ็ มไ่ ดม้ คี วามเชอ่ื ท่ีเก่ยี วเน่อื งกบั การใชใ้ ตถ้ นุ
ในปัจจบุ นั จะหาเรอื นที่มกี ารอยู่อาศัยจรงิ ก็หาไดย้ ากยงิ่ แตกต่างไปจากกลุ่มคนไททีย่ อมรับนับถือพุทธศาสนามาเป็น
ส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมและวิถีชีวิตประจ�าวัน ซึ่งมีความเชื่อ
102 วฒั นธ รม