Page 101 - CultureMag2015-1
P. 101

แ ผ่ น ดิ น เ ดี ย ว

                                                                        ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้สามารถจ�าแนกออกตาม                             อย่างไรก็ดีการตั้งถิ่นฐานทีเ่ ก่าแก่ของผู้คนส่วนใหญ่ 
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ได้เป็นสองส่วน คือ “ภูมิภาคเอเชีย                   น้นั อยใู่ นเขตพ้นื ท่ที ่ีมคี วามสงู ราว ๒๐๐-๓๐๐ เมตรจากระดบั  
ตะวนั ออกเฉยี งใตภ้ าคพน้ื ทวปี ” หรอื บางคร้งั เรยี กวา่  “ภมู ภิ าค  ทะเล ไปจนถงึ พ้นื ท่สี งู มากกวา่  ๔,๐๐๐ เมตรจากระดบั ทะเล 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นแผ่นดินใหญ่” และ “ภูมิภาค                 ซึง่ สกอตต์ (James C. Scott. The Art of Not Being
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพืน้ สมุทร” หรือ “ภูมิภาคเอเชีย               Governed : An Anarchist History of Upland South-
ตะวนั ออกเฉยี งใต้ภาคพนื้ หมเู่ กาะ”                                   east Asia. 2009) เรียกพื้นทดี่ ังกล่าวว่า “โซเมีย” (Zomia) 
                                                                       เป็นค�าในภาษาตระกูลพม่า - ทเิ บต  ค�าว่า “โซ” (zo) ม ี
      เป็นทนี่ ่าสนใจว่ากลุ่มชนชาติพันธ์ุหลักของภูมิภาค                ความหมายว่า “ห่างไกล” หรือ “การอยู่อาศัยบนทสี่ ูง” ส่วน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทงั้ กลุ่มชาติพันธุ์ทพี่ ูดภาษาตระกูล           คา� ว่า “เมีย” (mia) หมายความว่า “ผู้คน” 
ไท-กะได กลุ่มชาติพันธ์ุทีพ่ ูดภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก 
กลุ่มชนชาติพันธุ์ทพี่ ูดภาษาตระกูลจีน- ทิเบต และกลุ่ม                        พน้ื ท่โี ซเมยี น้คี รอบคลมุ อาณาบรเิ วณจากฝง่ั ตะวนั ออก
ชาติพันธุ์ทีพ่ ูดภาษาตระกูลออสโตรนีเชียนซึ่งตัง้ ถิน่ ฐานอยู ่         ของภาคพืน้ ทวีป คือทรี่ าบสูงตอนกลางของเวียดนามขึ้นไป
ในพน้ื ท่ีสว่ นภาคพ้นื ทวปี และในเขตภาคพน้ื สมทุ รบนหมเู่ กาะ          ทางเหนอื  ถงึ พน้ื ท่มี ณฑลกวางสี มณฑลก้ยุ โจว บางสว่ นของ
ต่างๆ ล้วนสร้างเรือนทอี่ ยู่อาศัยในลักษณะทีเ่ ป็นเรือนยกพืน้           มณฑลเสฉวน และมณฑลยูนนาน  สา� หรับทางตะวันตกของ
ทั้งสิน้                                                               แนวทสี่ ูงจากเวียดนาม พาดผ่านมายังลาว ภาคตะวันออก
                                                                       เฉียงเหนือ และภาคเหนือของไทย รัฐฉานของพม่า ไปจด
      บริบทแวดล้อมในอดีตทีส่ ่งผลต่อความคิดในการตั้ง                   พื้นทภ่ี าคตะวนั ออกของอนิ เดยี  
ถน่ิ ฐานของผคู้ น คอื สภาพแวดลอ้ มอนั อดุ มสมบรู ณ ์ และความ
รู้สึกมั่นคงปลอดภัยจากภัยนานัปการ เช่นเดียวกับผู้คนทีต่ ั้ง                  จากมูลเหตุเรือ่ งสภาพภูมิลักษณ์ของพืน้ ทีต่ ั้งถิน่ ฐาน 
ถิ่นฐานในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างคัดสรรพืน้ ท ี่              และปัจจยั แวดล้อมนานัปการดังที่กลา่ วมาข้างตน้  ทา� ใหผ้ ูค้ น
ลงหลักปักฐานให้มีคุณสมบัติข้างต้น ซึ่งมีทงั้ การตั้งถิ่นฐาน            เหลา่ น้นั ตอ้ งมกี ระบวนการสรรคส์ รา้ งและแกป้ ญั หา เพอ่ื ใหม้ ี
บนทีร่ าบชายฝั่ง และริมแม่น�า้ สายต่างๆ ตลอดจนทรี่ าบลุ่ม              การด�ารงชีวิตอยู่ได้อย่างปรกติสุขในสภาพแวดล้อมทางธรรม
ระหว่างหุบเขาผืนเล็กๆ ต่างก็มีผู้คนจับจองสร้างบ้านแปง                  ชาตินั้นๆ  และดูเหมือนว่าทางออกส�าคัญในการสรรค์สร้าง
เมอื งด้วยกนั ท้ังสน้ิ                                                 บา้ นเรอื นท่อี ยอู่ าศยั ของผคู้ นในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตจ้ ะเหน็

                                                                       มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๘ 99
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106