Page 99 - CultureMag2015-1
P. 99
< ภายในวิหารพระเจา้ พันองค ์ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้
วัดปงสนุก ลา� ปาง ชมุ ชนบ้านปงสนุก
จังหวดั ลา� ปาง
(ภาพ : วจิ ติ ต์ แซ่เฮง้ )
วัดปงสนกุ
เลขที่ ๖๐ ตา� บลเวียงเหนอื อ�าเภอเมอื ง จงั หวดั ลา� ปาง ๕๒๐๐๐
เปิดใหเ้ ข้าชมทกุ วัน ต้ังแต่เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น.
ไมเ่ ก็บคา่ เข้าชม
สอบถามขอ้ มูล โทร. ๐๘ ๗๑๙๓ ๑๑๙๓ (ท่านน้อย นรุตตฺ โม)
และ ๐๘ ๗๑๑๕ ๑๐๙๕ (อาจารยอ์ นุกลู ศิรพิ นั ธ)์
การเดนิ ทาง : จากฝงั่ เทศบาลเมืองลา� ปาง
ข้ามสะพานรัษฎาภเิ ศก หรือ “สะพานขาว”
ถึงสี่แยกไฟแดง เลย้ี วซา้ ยเข้าถนนปงสนุก
ตรงไปประมาณ ๑๕๐ เมตร วดั ปงสนุกจะอยดู่ ้านขวา
แห่งประเทศไทย เป็นต้น ชิน้ ส่วนอาคารโบราณ โมเดลท ี่ สง่ิ สา� คญั ท่ชี มุ ชนแหง่ น้รี ว่ มกนั รกั ษาคอื “จติ วญิ ญาณ”
นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะมัณฑนศิลป ์ ทีช่ ุมชนได้ร่วมกันปกป้องไว้ โดยน�ามาจัดแสดงในอาคารที่
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร จดั ท�าขน้ึ เพ่อื ประกอบการตดั สนิ ใจของ ดัดแปลงจากอาคารเดิมทีเ่ รียบง่าย หากแต่มีคุณค่า และมี
ชุมชนเกีย่ วกับเรือ่ งทัศนียภาพของอาคาร รวมถึงห้องเก็บ ประโยชน์ทางการศึกษา แม้ของจัดแสดงบางชิ้นจะเป็นสิ่งที่
รักษาภาพพระบฏทีพ่ บในวัด ซึง่ มีการใช้กระดาษไร้กรด-ด่าง ทา� ขน้ึ ใหมใ่ นชว่ ง ๑๐ ปที ่ผี า่ นมา หากแตเ่ ปน็ ส่งิ ท่ีทา� เพ่อื รกั ษา
เพอ่ื ชว่ ยในการเกบ็ รกั ษา บอ่ ยครง้ั ใชเ้ ปน็ ท่ีสาธิตการทา� เคร่อื ง ภูมิปัญญา และก่อให้เกิดการเรียนรู้ทขี่ ยายวงกว้างมากยิง่ ขึ้น
สกั การะเพ่อื เปน็ พทุ ธบชู า เชน่ “สวยกาบ” หรอื กรวยดอกไมส้ ด เป็นการศึกษาทีข่ ยายพรมแดนโดยเชื่อมโยงระหว่างความรู้
ต้นเทยี น ต้นผึ้ง ทสี่ มาชิกในชุมชนประดิษฐ์ขึ้นและถ่ายทอด ดั้งเดิมและความรแู้ บบใหม ่
งานฝีมอื น้ใี หแ้ ก่เยาวชน
จากการทีไ่ ด้มาเยือนวัดแห่งนี ้ เรียนรู้เรือ่ งราวของ
๕. พพิ ิธภัณฑ์ครูบาธรรมชัย เป็นอาคารกุฏิเดิมของ ศิลปวัตถุ และมองเห็นถึงความพยายามในการใช้สิง่ ทมี่ ีอยู่
วัดปงสนุกด้านใต้ จัดแสดงศิลปวัตถุทีร่ ักษาไว้ในวัด เช่น แล้วให้เกิดคุณค่าสูงสุด จะพบว่าแทบทุกสถานทีท่ ีช่ ุมชนและ
พระพทุ ธรปู สมยั ตา่ งๆ เครอ่ื งเขนิ เคร่อื งอฐั บรขิ าร ซง่ึ ลว้ นแต่ คณะสงฆ์ของวัดปงสนุกทงั้ ด้านเหนือและด้านใต้จัดแสดงไว ้
มีเรอ่ื งราวทน่ี า่ สนใจทั้งสนิ้ ล้วนแต่บ่งชีถ้ ึงความตระหนักรู้ในคุณค่าของทุกสรรพสิ่งที่
ประกอบกันขึ้นมาจนเกิดความโดดเด่น อันจะสามารถเรียนรู้
นอกจากนั้นบนชัน้ ๒ ของอาคารห้องสมุดประชาชน ได้อย่างหลากหลาย ในมติ ิทเี่ ช่ือมโยงทุกอย่างเขา้ ดว้ ยกนั
ดา้ นหลงั วดั ปงสนกุ ดา้ นใต ้ ยงั จดั แสดงธรรมาสนโ์ บราณของวดั
และเครอ่ื งไม้ประดับอาคารแบบโบราณอีกดว้ ย โดยก้าวข้ามพ้นข้อจ�ากัดของกาลเวลา ผ่านทุก
คณุ ค่าของงานพุทธศิลป ์
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๘ 97