Page 90 - E-Book Culture 02_20182
P. 90
การท�าผิวให้เป็นสีด�าก็เป็นอีกหนึ่งสินค้าที่ได้รับความนิยมจากบ้าน ป้าบัวไหล บุญเติง
ในช่วงของการค้าขายใหม่ๆ นั้น จะมีพ่อค้าคนกลางทั้งในหมู่บ้านและนอกหมู่บ้าน
มารับไปขายอีกต่อ ตลาดใหญ่คือตลาดต้นล�าไย (กาดหลวง) จากค�าบอกเล่าต่อๆ
กันมาว่าวัดแสนฝางนับเป็นสถานที่พักส�าคัญของชาวบ้าน ซึ่งใกล้กับการขนส่งทาง
แม่น�้าปิง ซึ่งสะดวกกับพ่อค้าชาวจีนจะมาซื้อหา อีกทั้งอ�าเภอพร้าว อ�าเภอเชียงดาว และ
อ�าเภอฝาง ก็เป็นตลาดที่มีความต้องการไม่น้อยเช่นกัน
หากจะพูดถึงช่างปั้น ลุงหนานค�าค�า...นับเป็นช่างฝีมือเก่าแก่ของหมู่บ้านเหมืองกุง
ที่ต้องกล่าวถึง เพราะเคยปั้นถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ช่างประพัฒน์ สืบค�าเปียง มาแล้ว วันนี้งานของลุงหนานค�าก็นับว่าหาเก็บได้ยาก และยากแก่การบอกได้ว่าหม้อน�้า
ก�าลังมุ่งมั่นและตั้งใจกับงานปั้นชิ้นใหญ่ หรือน�้าต้นอันไหนที่ผ่านมือของลุงหนานค�ามาบ้าง ด้วยความที่ว่างานเครื่องปั้นดินเผา
ต่างๆ เหล่านี้ไม่มีสัญลักษณ์ใดๆ ที่จะบ่งบอกว่าใครเป็นผู้ปั้นนั่นเอง
แม้วันนี้คนรุ่นใหม่ๆ จะนิยมเข้าเมืองไปท�างานรอรับเงินเดือนกันอยู่ แต่ก็หวังว่า
อาจมีบางคนที่เบื่ออาชีพในเมืองแล้วหวนคืนกลับมาสานต่ออาชีพดั้งเดิมของครอบครัว
กันอีกครั้ง อย่างเช่นพ่อหลวง วชิระ สีจันทร์ เป็นตัวอย่าง
ปัจจุบัน แม้จะเหลือเพียงสิบกว่าครัวเรือนที่ยังคงรักอาชีพเหล่านี้อยู่ แต่งานปั้น
ต่างๆ ก็ยังคงมีการพัฒนาและประยุกต์ไปเรื่อยๆ ทั้งลวดลาย รูปทรง และสีสัน
รวมถึงเครื่องไม้เครื่องมือที่เคยใช้แป้นมือหมุน (เรียกว่า จ๊าก) กันทุกบ้าน มอเตอร์ไฟฟ้า
การแกะลายน�้าต้นของลุงเล็ก แสนใจ
ที่รอคนรุ่นใหม่มาสืบสาน ก็เริ่มเข้ามามีบทบาทในการผลิตมากขึ้น เพื่อทุ่นแรงและให้ได้ปริมาณตามความต้องการ
88