Page 89 - E-Book Culture 02_20182
P. 89
งานปั้นน�้าต้นที่ยังใช้ จ๊าก แป้นที่หมุนด้วยมือ
ในยุคที่เครื่องปั้นดินเผาเฟื่องฟู งานปั้นของแต่ละครัวเรือนก็จะมีเอกลักษณ์
รูปทรงตามความถนัดและความชอบแต่ละบุคคล แต่ที่ท�าให้ หม้อน�้า และน�้าต้น
ของบ้านเหมืองกุงแห่งนี้เป็นที่กล่าวขาน ส่วนหนึ่งคงมาจากการใช้ดินที่ดีในการปั้น
เชื่อกันว่า หม้อน�้า และน�้าต้น จากบ้านเหมืองกุงนั้น มีความบาง เบา ทนทานไม่แตก
หักง่าย ด้วยดินที่บ้านเหมืองกุงนั้นเป็นดินชั้นทราย ไม่ใช่เป็นดินหน้านา จึงมีรูพรุนใน
เนื้อดินแต่ไม่รั่ว น�้าที่ใส่ลงไปจึงเย็นเมื่อน�าไปดื่มจะท�าให้รู้สึกสดชื่น ท�าให้น�้าต้นแห่ง
บ้านเหมืองกุงมีชื่อเสียงและเป็นที่กล่าวขานกันว่า มีคุณภาพดีที่สุดในอาณาจักรล้านนา
เลยทีเดียว
พ่อหลวง (ผู้ใหญ่บ้าน) วชิระ สีจันทร์ เองเมื่อครั้งยังเป็นหนุ่มก็เคยออกไปท�างาน
ร้านค้าชุมชนได้น�าสินค้าต่างๆ
ออกมาวางจ�าหน่ายยังหน้าหมู่บ้าน รับเงินเดือนในเมืองอยู่หลายปี วันหนึ่งจึงอยากจะกลับมาท�าอะไรให้กับบ้านของตัวเอง
บ้าง จึงลาออกจากงานต�าแหน่งดีเงินเดือนสูงเพื่อกลับมาพัฒนาหมู่บ้านของตน
ผู้เฒ่าผู้แก่เคยเล่าเรื่องในอดีตให้ฟังว่า..
“ในสมัยที่ขุดดินเอามาปั้นหม้อกันใหม่ๆ ก็ขุดกันในที่บริเวณของหมู่บ้านนี่เอง
แม้แต่ตรงบ้านพ่อหลวงที่อาศัยในปัจจุบันอยู่ตอนนี้ก็เป็นบ่อดินชั้นดี ส่วนดินที่จะน�า
มาท�าน�้าเคลือบให้เป็นสีแดงนั้น ต้องไปเอาจากดอยสะเก็ด การเดินทางจากอ�าเภอ
หางดงไปยังอ�าเภอดอยสะเก็ด วันนี้ดูเหมือนจะไม่ไกลนัก แต่หากย้อนกลับ หลับตา
นึกถึงในยุคสมัยนั้นที่ทางมีแต่ป่าคงไม่สนุกนัก การจะไปเอาดินแดงจากอ�าเภอ
ดอยสะเก็ดแต่ละครั้ง จึงต้องรวบรวมคนไปเป็นกลุ่มพร้อมๆ กัน ด้วยยุคนั้น
ตามเส้นทางเดินอาจจะเจอสิงสาราสัตว์ในยามค�่าคืนและเกิดอันตรายได้ โดยใช้เกวียน
ไปบรรทุกดินแดง ส่วนคนที่ไม่มีเกวียนก็ต้องใช้การแบก การหามน�ามาด้วยความยาก
ล�าบาก การเดินเท้าทางไกลเช่นนี้ในช่วงกลางวันก็จะต้องตากแดดร้อน จึงนิยมเดินทาง
กันช่วงกลางคืนซะมากกว่า โดยอาศัยอากาศที่เย็นสบายในการเดินทาง ท�าไมต้อง
พ่อหลวงของหมู่บ้านเหมืองกุง
คุณวชิระ สีจันทร์ ล�าบากเดินทางไกลไปถึงดอยสะเก็ด ก็เพราะว่าดินแดงที่นั่น เวลาเคลือบและน�าไป
เผาแล้วจะให้สีที่สวยและดีที่สุดนั่นเอง”
เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๑ 87