Page 88 - E-Book Culture 02_20182
P. 88

ภาพมุมสูงของบ้านเหมืองกุง
          หม้อน�้า ที่บรรจงเขียนลายลงไปอย่างวิจิตร โดยคุณ วชิระ สีจันทร์           ท�าให้เห็นว่าในอดีตจะเป็นทุ่งนาอยู่โดยรอบ


              ในช่วงปี พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๕๖ มีชาวไตที่ถูกกวาดต้อนจากเมืองต่างๆ ส่วนหนึ่ง
          เป็นชาวไตซึ่งมาจากจากเมืองปุ เมืองสาด รัฐเชียงตุง ได้อพยพมาเข้ามาอยู่อาศัยยัง
          หมู่บ้านแห่งนี้ ครั้งแรกก็มีเพียง ๕ ครัวเรือน ๕ นามสกุลเท่านั้น คือ นามสกุล ฟักทอง,

          สืบค�าเปียง, ศรีจันทร์ (สีจันทร์), สืบสุริยะ, และกาวิโรจน์, ที่สืบทอดกันมาถึง ณ วันนี้
          หนึ่งใน ๕ นามสกุล คือคุณ วชิระ สีจันทร์ ที่ด�ารงต�าแหน่งเป็นพ่อหลวง (ผู้ใหญ่บ้าน)
          ของหมู่บ้านเหมืองกุง ในปัจจุบัน
              จากหนังสือ พระราชชายา เจ้าดารารัศมี (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฉลองกู่
          ๑๐๐ ปี) ได้มีข้อความหนึ่งเขียนไว้ว่า “พระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหา
          ราชปดิวรัดา เสด็จประพาสมณฑลพายัพ ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๐ ณ นครเชียงใหม่     งานปั้นฝาถ้วย ฝาหม้อต่างๆ

          ในการรับเสด็จครั้งนั้น พระราชชายา เจ้าดารารัศมี และเจ้าแก้วนวรัฐ เตรียมการ    ก็เป็นงานที่ใช้กันมาก
          รับเสด็จเป็นแรมปี ทรงฝึกช่างฟ้อนวัง และช่างฟ้อนคุ้ม รวมกันเพื่อแสดงถวายให้
          ทอดพระเนตร ในวันเสด็จถึงนครเชียงใหม่นั้น พระวิมาดาเธอฯ เสด็จถึงก่อนหมาย    จากอดีต ชาวบ้านต้องท�านาเพื่อน�า
          ก�าหนดการจึงเสด็จไปเยี่ยมพระราชชายา เจ้าดารารัศมี ถึงที่ประทับเหมืองกุง   ข้าวเปลือกที่ได้ไปส่งให้เจ้ากาวิโรรส
          ในอ�าเภอหางดง” (ผู้แต่ง เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่) บทความนี้แสดงให้เห็นว่า   สุริยวงศ์ (โอรสของเจ้ากาวิละ) ในช่วง

          บ้านเหมืองกุงในอดีตนั้นมีความส�าคัญอยู่มิใช่น้อย                      หน้าแล้งที่ไม่ได้ท�านา ชาวบ้านก็จะขุดดิน
                                                                                บริเวณของหมู่บ้านน�ามาปั้นเป็น หม้อน�้า
                                                                                (ภาษาถิ่นหมายถึงหม้อน�้าดื่ม) และน�้าต้น
                                                                                (ภาษาถิ่นหมายถึงคนโฑ) เพื่อท�าไว้ใช้เอง
                                                                                ใช้รับแขก หรือน�าไปถวายสังฆทาน
                                                                                ถวายวัดในพิธีทางพุทธศาสนามาอย่าง
                                                                                เนิ่นนาน จนการปั้นกลายเป็นวิถีชีวิตของ

                                                                                ชาวบ้าน หากหม้อน�้าและน�้าต้นมีเหลือใช้
                                                                                ก็จะน�าไปขายเพื่อหารายได้จุนเจือให้กับ
            น�้าต้นแบบในยุคแรกๆ                หม้อก๊อก (หม้อที่ติดก๊อกน�้า)    ครอบครัว
                                               ยุคหนึ่งซึ่งเคยเป็นที่นิยม
     86
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93