Page 95 - Culture1-2018
P. 95
หนังสุชาติ ทรัพย์สิน ครั้งเมื่อยังมีชีวิต แม้อายุจะมากแล้ว แต่ก็ยังลงมาเชิดและแกะหนังอย่างสมํ่าเสมอ เป็นวิทยาทานแก่ผู้มาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์
หนังสุชาติเปิดท�าการแสดงหนังตะลุงเรื่อยมา จนกระทั่ง “...ขอบใจที่รักษาของเก่าไว้ให้ อย่าหวงวิชา ช่วยเผยแพร่
พ.ศ. ๒๕๒๗ นับเป็นจุดเปลี่ยนชีวิตของหนังสุชาติ ทรัพย์สิน และช่วยถ่ายทอด” พระกระแสรับสั่งในคราวนั้น เป็นแรงบันดาลใจ
เพราะได้มีโอกาสแสดงหนังตะลุงต่อหน้าพระที่นั่งพระบาทสมเด็จ ส�าคัญที่ก่อให้เกิดแนวคิดในการศึกษา ค้นคว้า เรื่องหนังตะลุง
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ ทุกมิติของหนังสุชาติ และน�าไปสู่การเปิดบ้านเป็นพิพิธภัณฑ์
ณ พระต�าหนักทักษิณราชนิเวศน์ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๒๗ หนังตะลุง บูรณาการความรู้ทักษะการแกะสลักรูปหนังตะลุง
หลังจากแสดงเสร็จ หนังสุชาติได้ถวายรูปหนังตะลุงที่ใช้แสดง และการแสดงหนังตะลุง จัดกิจกรรมอนุรักษ์สืบสานและ
พร้อมเครื่องดนตรีทั้งชุดแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา การถ่ายทอดภูมิปัญญาหนังตะลุง จนกลายเป็นแหล่งเรียนรู้
ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และพระองค์ทรงพระเมตตาตรัส เรื่องหนังตะลุงในที่สุด
ถามถึงประวัติความเป็นมาของการแสดงหนังตะลุง การแกะสลัก
รูปหนังตะลุง โดยเฉพาะรูปตัวตลกหนังตะลุง พระองค์ทรงสน เรื่องเล่าแห่งแสงและเงา
พระทัยเป็นพิเศษ ได้ถามถึงบุคลิก นิสัย บทบาทในการแสดงของ พิพิธภัณฑ์หนังตะลุงบ้านหนังสุชาติ ทรัพย์สิน เป็นแหล่ง
รูปหนังแต่ละตัว และพระองค์ได้ทรงรับสั่งกับหนังสุชาติว่า เรียนรู้เรื่องหนังตะลุง จัดตั้งขึ้นโดย นายสุชาติ ทรัพย์สิน และ
มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑ 93