Page 93 - Culture1-2018
P. 93

ในทุกขั้นตอนของการท�าเรือกอและจ�าลอง จะต้องมี     การเขียนลวดลายบนล�าเรือด้วยการผสานลายไทย ลายมลายู

           ความรู้ความเข้าใจ และมีความระมัดระวังความพลาดหรือ  และลายชวาให้กลมกลืนและลงตัวอย่างต่อเนื่องกันตลอดทั้งล�าเรือโดย
           การผิดแบบเพราะจะท�าให้เสียเนื้อไม้ เรือจ�าลองนิยมใช้ไม้  ฝีมือและจินตนาการของจิตรกรพื้นบ้าน มีสัดส่วนของลายไทยอยู่มาก
           กระท้อนซึ่งเป็นไม้เนื้ออ่อนที่แกะสลักง่าย ตัดรูปได้    ที่สุด ลายที่นิยมเขียนกันมากได้แก่ ลายกนก ลายบัวคว�่าบัวหงาย ลาย
           มีความทนทานดีพอสมควร น�าไม้มาฉลุลวดลายตามแบบ    หัวพญานาค และลายหัวนกในวรรณคดี เช่น บุหรงซีงอ หรือสิงหปักษี
           ที่ร่างเอาไว้ ลวดลายจะเกิดจากจินตนาการของเยาวชน   (ตัวเป็นสิงห์ หัวเป็นนกคาบปลา) ไว้ที่หัวเรือ ด้วยเชื่อว่ามีฤทธิ์มากและ
           เป็นที่น่าอัศจรรย์ใจที่เราพบว่า เยาวชนจะมี      ด�าน�้าเก่ง จึงเป็นที่นิยมของชาวเรือ ความสวยงามและโดดเด่นของ

           พรสวรรค์ที่เฉียบคม  เพราะเพียงน�าแบบมา          ลวดลายบนล�าเรือ ได้รับการยกย่องจนเป็นที่เลื่องลือว่าวิจิตรดั่งเทวา
           ให้ดูเขาก็จะ                  พยายาม            มารังสรรค์
           สร้างสรรค์หรือ                                              ราคาเรือกอและจ�าลอง ขึ้นอยู่กับรูปทรง ลวดลายและ
           ผสมแบบและวาด                                                               ขนาดของเรือ เรือล�าเล็กที่สุดมี
           ลวดลายใหม่ได้ตามที่เขา                                                      ขนาด ๒-๓.๕ นิ้ว ราคาประมาณ

           คิดเอง แล้วถ่ายทอดออกมา                                                    ๒๐๐ บาท ล�าใหญ่ที่สุดประมาณ
           เป็นลวดลายแปลกใหม่บน                                                   ๑ เมตร ราคาประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท
           ล�าเรือกอและจ�าลองได้อย่าง                                          ในการจัดประกวดเรือกอและจ�าลองมีอยู่เสมอ
           สวยงาม                                                           จึงท�าให้ช่างท�าเรือต่างพยายามท�าเรือที่สวยงาม
               การรวมกลุ่มของเยาวชนเพื่อ                                    อย่างสุดฝีมือเพื่อส่งเข้าประกวด ชาวบ้านทอน
           สร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะถ่ายทอด                             ตระหนักรู้คิดและให้ความส�าคัญกับเรือกอและ ทั้งเรือ

           ออกมาเป็น “เรือกอและจ�าลอง” ล�าน้อยสีสันงดงาม    จริงและเรือจ�าลอง ตระหนักว่าเป็นดั่งสมบัติของชุมชนแห่งนี้ ความหวัง
           สะท้อนภาพวิถีชีวิตของคนในชุมชน ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ  และความฝันจากอดีตสู่ปัจจุบันที่ตั้งใจจะท�าให้ดีที่สุด เพื่อว่าในอนาคต
           หมู่บ้านชาวเลแห่งนี้ ภายในศูนย์ฝึกท�าเรือกอและจ�าลอง  เรือกอและหรือนางฟ้าทะเลใต้ของพวกเขาจะได้มีโอกาสไปอวดโฉม
           จะมีการจัดเตรียมกระป๋องสี พู่กัน ดินสอ เครื่องกรอไม้   ประกาศศักดิ์ศรีความเป็นเรือ ที่ทรงคุณค่าด้านมรดกวัฒนธรรมได้
           เสื่อกระจูด และหลอดไฟนีออน เอาไว้อยู่แล้วอย่าง   ในสายตาของปวงประชานานาชาติ ปลายทางที่คาดหวังไว้นั่นคือ

           พร้อมเพรียง                                     การอนุรักษ์ลวดลายเรือกอและ ซึ่งเป็นดั่งสมบัติของชุมชนให้ได้รับการ
               เมื่อวาดลายหรือลงฉลุเสร็จแล้วก็ถึงขั้นตอนการลงสี   สืบทอดจากคนรุ่นปัจจุบัน ไปสู่คนรุ่นใหม่ในอนาคตอย่างต่อเนื่อง
           ที่ต้องใช้ความประณีตมาก สีที่ใช้คือสีน�้ามัน คนที่ลงสี
           จะต้องระมัดระวังไม่ให้พลาด มิเช่นนั้นจะต้องลบสีออก      ศูนย์ท�าเรือกอและจ�าลองบ้านทอน เลขที่ ๒๕๖/๒ ทอนฮีเล
           และลงร่างลวดลายใหม่ทั้งหมด ท�าให้เสียทั้งแรงกาย    หมู่ ๑๐ ต�าบลโคกเคียน อ�าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ๙๖๐๐๐ เป็น
           เวลา และต้นทุนการผลิต เมื่อเรือกอและล�าใดลงสีเสร็จสิ้น  แหล่งต่อเรือกอและทั้งของจริงและเรือจ�าลอง ลักษณะเป็นหมู่บ้าน

           ทั้งล�าเรือแล้ว นั่นหมายถึงการท�างานแบบมีส่วนร่วมของ  ชาวประมงไทยมุสลิม ตั้งอยู่ติดชายทะเล ชายหาดขาวสะอาดทอดยาว
           ทุกคน                                             และยังคงความเป็นธรรมชาติ ห่างจากตัวเมืองไปตามเส้นทาง
               การประกอบเรือเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการท�าเรือ   นราธิวาส-บ้านทอน (ทางหลวง ๔๑๓๖) ประมาณ ๑๖ กิโลเมตร
           กอและจ�าลอง ช่างจะน�าส่วนประกอบต่างๆ มาประดับ     ติดต่อ นายรุสลี บินดอเลาะ โทรศัพท์ ๐ ๗๓๕๖ ๕๐๒๔

           ตกแต่งบนตัวเรือ เช่น ไม้พาย หางเสือ เสากระโดง ใบเรือ   Email : lee-kolae@hotmail.com
           เป็นต้น แล้วน�าเรือมาวางไว้บนฐานรองรับเรือเป็นการ
           สิ้นสุดการท�าเรือกอและจ�าลอง
                                                                                                มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑  91
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98