Page 94 - Culture1-2018
P. 94
นิทัศน์วัฒธรรม
เรื่อง : วาที ทรัพย์สิน
ภาพ : ศูนย์วัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
เรื่องเล่าแห่งแสงและเงา
พิพิธภัณฑ์หนังตะลุง
บ้านหนังสุชาติ ทรัพย์สิน
“ท�างานเพื่อตัว จะหมองมัวชั่วชีวิต
ท�างานเพื่ออุทิศ สิ้นชีวิตชื่อยังอยู่”
เป็นบทกวีสั้นๆ ของนายสุชาติ ทรัพย์สิน ศิลปินแห่งชาติ หรือที่รู้จักของคนทั่วไป “หนังสุชาติ” นายหนังตะลุงชื่อดัง ของจังหวัด
นครศรีธรรมราช ที่ใช้บทกวีดังกล่าว เป็นแนวทางในการท�างานสอนภรรยาและลูกๆ ให้ยึดหลักการท�างานให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมเป็น
ส�าคัญ
แรงบันดาลใจก่อเกิดพิพิธภัณฑ์ จะแกะสลักรูปหนังตะลุงไม่เป็น ศิลปะการแสดงพื้นบ้านหนังตะลุง
หนังสุชาติ ทรัพย์สิน เป็นช่างแกะหนังตะลุงที่สนใจเรียนรู้ เคยเป็นที่นิยมของชาวปักษ์ใต้เป็นอย่างสูง หนังสุชาติเคยเล่าว่าใน
การท�ารูปหนังตะลุงมาตั้งแต่ อายุ ๑๐ ขวบ และสามารถท�ารูป ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๐ - พ.ศ. ๒๕๑๕ ใน ๑ เดือนจะมีงานแสดงหนัง
หนังตะลุงกระดาษเป็นของเล่นเด็ก และท�ารูปหนังตะลุงด้วยหนัง ตะลุงประมาณ ๒๐ ครั้ง โดยรับงานแสดงไปทั่วภาคใต้ เหตุที่มี
สัตว์ ขายให้แก่นายหนังเพื่อใช้ในการแสดงหนังตะลุงมาตั้งแต่ โอกาสได้แสดงมากเพราะในยุคนั้น มหรสพหรือการแสดงที่ให้ความ
อายุ ๑๓ ปี และฝึกฝนการแสดงหนังตะลุงด้วยตนเอง สามารถ บันเทิงมีแต่หนังตะลุง โนราและลิเกป่า เท่านั้น จากนั้นประมาณ
แสดงหนังตะลุง สร้างความสุข ความบันเทิงให้แก่ผู้ชมมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๐ ถึงปัจจุบัน การแสดงศิลปะพื้นบ้านลดน้อยลง
อายุ ๑๕ ปี ด้วยความขยัน มุ่งมั่น และใฝ่รู้เกี่ยวกับการแกะสลัก เพราะมีสื่อบันเทิงแขนงอื่น ประเภทหนังกลางแปลง ดนตรีลูกทุ่ง
รูปหนังตะลุง ท�าให้หนังสุชาติมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักของคนใน ลิเก เข้ามามีบทบาทและเป็นตัวเลือกทางด้านสื่อบันเทิง
สังคมว่า “เป็นช่างท�ารูปหนัง” และ “นายหนังตะลุง” ที่โดดเด่น ให้กับคนในสังคมมากขึ้น ท�าให้หนังตะลุงและโนรารวมถึง
กว่าช่างหนัง หรือนายหนังคนอื่นๆ เพราะส่วนมากคนที่แกะสลัก การแสดงพื้นบ้านอื่นๆ ขาดโอกาสทางการแสดง และค่อยๆ
รูปหนังตะลุงไม่สามารถเล่นหนังตะลุงได้ ส่วนนายหนังส่วนมากก็ เสื่อมไป
92