Page 83 - Culture1-2018
P. 83
เสน่ห์อย่างหนึ่งของงานภาพพิมพ์ด้วยมือคือ งานแต่ละชิ้นจะมี
อัตลักษณ์เป็นของตนเอง แม้จะอยู่ใน Edition เดียวกันก็จะมีความแตกต่าง
กันไป มากบ้าง น้อยบ้าง ...แต่จะไม่มีงานชิ้นใด ที่เหมือนกัน ๑๐๐% แม้แต่
ชิ้นเดียว
จิตวิญญาณแห่งความเป็นครู ศาสตราจารย์เกียรติคุณประหยัด พงษ์ด�า หรือที่ลูกศิษย์
ท่ามกลางกลิ่นสีและหมึกพิมพ์ กว่า ๔๐ ปี ที่ศาสตราจารย์ ลูกหามักเรียกท่านว่าอาจารย์ประหยัด เกิดเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม
เกียรติคุณประหยัด พงษ์ด�า ได้ให้ความรักให้ความรู้ สั่งสอนศิษย์ พ.ศ. ๒๔๗๗ ที่บ้านบางน�้าเชี่ยว อ�าเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี
และคิดค้นเทคนิคใหม่ๆ ในศิลปะภาพพิมพ์ ท่านเป็นหนึ่งใน ท่านมีความสนใจเรื่องการวาดภาพมาตั้งแต่เด็กๆ ก่อนได้เข้า
ลูกศิษย์ของปรมาจารย์ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ที่ก้าวตามรอย ศึกษาวิชาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่างและมหาวิทยาลัยศิลปากร
และสืบทอดเจตนารมณ์ของปรมาจารย์ ปูชนียบุคคลผู้สร้างความ ขณะเรียนอยู่ชั้นปีที่ ๕ ได้รับความไว้ใจจากศาสตราจารย์ศิลป์
เป็นปึกแผ่นแก่วงการศิลปะไทยในการสืบทอดอุดมการณ์ของ พีระศรี ให้ช่วยสอนวิชาพื้นฐานทางศิลปะให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่
ศาสตราจารย์ศิลป์ในการพัฒนาวงการศิลปะไทย ๑ ซึ่งอาจารย์ประหยัดท�าได้ดี เป็นที่พอใจแก่ศาสตราจารย์ศิลป์
พีระศรี เป็นอย่างมาก เมื่อจบการศึกษาปริญญาตรีศิลปบัณฑิต
(จิตรกรรม) ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ท่านจึงได้รับการบรรจุเข้ารับ
ราชการเป็นอาจารย์ประจ�าที่มหาวิทยาลัยศิลปากร หลังจากเป็น
อาจารย์อยู่ระยะหนึ่ง ท่านได้สอบชิงทุนรัฐบาลอิตาลีไปศึกษา
ศิลปะที่สถาบันประณีตศิลป์แห่งกรุงโรม ประเทศอิตาลี โดยไม่ต้อง
เรียนชั้นปีที่ ๑ และ ๒ เหมือนคนอื่นๆ แต่ข้ามไปเรียนชั้นปีที่ ๓
เลย แถมยังท�าคะแนนสูงสุดและสร้างชื่อเสียงในการสร้างสรรค์
งานศิลปะ โดยได้รับรางวัลในการแสดงงานจากประเทศอิตาลี
มากมาย เมื่อจบหลักสูตร Diploma of Fine Arts จาก
L’Accademia di belle Arti di Roma ในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ท่าน
ได้กลับมารับราชการเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับ
เกียรติให้ด�ารงต�าแหน่งหัวหน้าภาควิชาภาพพิมพ์ คณบดีคณะ
จิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ ด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวยการ
โครงการจัดตั้งหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ถ่ายทอดวิชาให้
ลูกศิษย์อย่างต่อเนื่องมาจนเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. ๒๕๓๘
อาจารย์ประหยัด พงษ์ด�า เป็นศิลปินผู้สร้างสรรค์งานศิลปะ
อย่างโดดเด่น ชื่อเสียงของท่านเป็นที่รู้จักทั้งในประเทศและ
นานาชาติ ท่านได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่น
ทางด้านวัฒนธรรมประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับยกย่องเชิดชู
ขณะเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 เกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพพิมพ์)
คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัย ประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๔๑ และได้รับการเชิดชูดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ศิลปากร
มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๑ 81