Page 40 - Culture1-2018
P. 40
ครั้นเมื่อล่วงพุทธกาลสัก
๒๐๐ ปี พระเจ้าอเล็กซานเดอร์
มหาราชเป็นกรีกมะซิโดเนีย มี
อานุภาพขึ้นในยุโรป ยกกองทัพ
ไปเที่ยวปราบปรามนานาประเทศ
ได้เมืองอียิปต์และเมืองอื่นๆ ใน
ยุโรปทางตะวันออก ตลอดมาจน
เมืองเปอร์เซียและคันธารราษฎร์
ในอินเดียไว้ในราชอาณาเขต
ตั้งแม่ทัพคนส�าคัญกับทั้งพวกพล
กรีกอยู่ปกครองประเทศนั้นๆ ทุก
ประเทศ
พวกกรีกที่มาตั้งอาณาเขต
ในคันธารราษฎร์มาเลื่อมใส ๑
ในพระพุทธศาสนา ได้นามว่า
ชาวโยนก นายพลกรีกที่ปกครอง
ประเทศอียิปต์ชื่อปะโตเลมีตั้ง ๑. สัตว์หิมพานต์ประเภท อียิปต์จึงมีพลเมืองพวกใหญ่เป็น ๒ พวก คือพวกกรีกและพวกอียิปต์
ราชธานีอยู่ที่เมืองอเล็กซานเดรีย ช้าง เป็นช้างที่มีสี พวกกรีกพาศาสนาของตนที่นับถือเทพเจ้าต่างๆ โดยท�ารูปอย่างมนุษย์
ต่างๆ และกุญชรวารี
ชายทะเลเมดิเตอเรเนียนที่ ปลาที่มีหัวเป็นช้างอยู่ ไปนับถือในอียิปต์ด้วย ครั้นจ�าเนียรกาลนานมา เมื่อพวกกรีกและพวก
ปากน�้าไนล์ ครองราชสมบัติสืบ ด้านหน้า อียิปต์ได้ช่วงเสพสมาคมคุ้นกันหนักขึ้น การนับถือ คติศาสนาเกิดปะปน
วงศ์ลงมา ๑๔ ชั่วกษัตริย์ ตลอด ๒. กรินทร์ปักษา สัตว์ กัน กลายเป็นถือว่ารูปเทพเจ้าที่จุติมาเกิดในโลก ผิดกับมนุษย์และสัตว์
เวลากว่า ๓๐๐ ปี ในระหว่างนั้น หิมพานต์พันธ์ผสมช้าง เดรัจฉาน จึงเกิดความคิดท�าเทวรูปตัวเป็นคนหน้าเป็นสัตว์ต่างๆ เป็น
และนก และช้าง
มีพวกกรีกพากันไปตั้งภูมิล�าเนา สีเหลือง เหยี่ยวบ้าง เป็นจระเข้บ้าง หรือมิฉะนั้น หน้าเป็นคนตัวเป็นสัตว์เดรัจฉาน
ได้เป็นพลเมืองอยู่มาก เมือง เช่น สฟิงซ์ เป็นต้น” ก็มีเกิดขึ้น
ด้วยเหตุนี้สฟิงซ์ (Sphinx / Sphynx) จึงมีทั้งกรีกและอียิปต์ แต่ใน
หนังสือบางเล่มว่า สฟิงซ์เกิดในอียิปต์ก่อน แล้วแพร่หลายเป็นที่รู้จักกัน
ทั่วไปในตะวันออกใกล้ โดยมีกรีกเป็นตัวเชื่อมที่ส�าคัญ
ตามประวัติศาสตร์กล่าวว่า กรีกเป็นชาติแรกในโลกที่น�าเอาความ
เจริญของเอเชียไปสู่ยุโรป และน�าความเจริญของยุโรปเข้ามาเผยแพร่
ในเอเซีย สรุปว่ากรีกเป็นมนุษย์พวกแรกที่เชื่อมยุโรปกับเอเซีย ให้มีการ
เดินทางถึงกัน และมีการแลกเปลี่ยนความคิดความเห็นกันก่อนชาติอื่นๆ
จึงเป็นเรื่องน่าคิด ว่าอิทธิพลเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดต่างๆ ทางเอเชีย
ก็คงได้รับมาจากกรีกด้วย เพราะพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ทรงแผ่อ�านาจ
เข้ามาทางอินเดียดังกล่าวมาแล้ว และนักปราชญ์ทางโบราณคดีก็ได้ลง
มติว่า สัตว์ประหลาดๆ ของอินเดียได้แบบมาจากกรีก ดังปรากฎในหนังสือ
๒ “ประติมากรรมคันธาระในปากีสถาน” ของ เอ็ม.เอ.ชาครู ตอนหนึ่งว่า
38