Page 38 - Culture1-2018
P. 38

(ภูเขาเงิน) เขาไกรลาสอยู่ทาง

          ตอนเหนือของมานะสะ
              ป่าหิมพานต์ในวรรณคดี
          เป็นป่ากว้างใหญ่ มีก�าหนดกว้าง
          ถึงสามพันโยชน์ เฉพาะที่เป็นภูเขา
          หิมพานต์นั้นประมาณหนึ่งพัน
          โยชน์ สูงห้าร้อยโยชน์ คือเป็น

          เนินสูงสามร้อยโยชน์ เป็นยอดสูง
          ขึ้นไปสองร้อยโยชน์ เขาหิมพานต์
          เป็นเทือกเขาใหญ่ ที่ประกอบด้วย
          เทือกเขาต่างๆ มากถึงแปดหมื่นสี่

          พันยอด ที่มีชื่อเรียกในวรรณคดี
          คือเขาสุทัศนะ เขาจิตรกูฎ เขา
          กาฬกูฎ เขาคันธมาทน์ และเขา
          ไกรลาส ตามความคิดของคน
          โบราณเชื่อกันว่า ในป่าหิมพานต์
          มีสัตว์ประหลาดมากมาย ใน       ๑

          หนังสือ “ศิลปไทย” ได้เล่าที่มา
          ของ “สัตว์หิมพานต์” ไว้ว่า   ๑. พระมหาพิชัยราชรถ ประดิษฐานโกศพระบรมศพในหลวงรัชกาลที่ ๙ น�าริ้วขบวนแห่พระศพ
              “มีนางเทพอัปสรนางหนึ่ง     เคลื่อนผ่านหน้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
          เป็นข้าในพระนางเทพเจ้าสุรัสวดี  ๒. สัตว์หิมพานต์ตระกูลสิงห์ หลายชนิด เช่น ไกรสรราชสีห์ บัณฑุราชสีห์  และติณสีหะ

                                                                                       นางเป็นผู้ที่ไร้เสียซึ่งธรรมชาติแห่ง
                                                                                       จารีตของเทพอัปสรทั้งหลาย จึงได้

                                                                                       ถูกขับให้ไปจุติในมนุษยโลก แต่ก็
                                                                                       ด้วยบาปก�าเนิดเดิม จึงหาได้เกิด
                                                                                       มาเป็นมนุษย์ไม่ กลับต้องจุติ
                                                                                       ไปเกิดเป็นนางช้างน�้ามีนามว่า
                                                                                       อสุรภังคี เป็นใหญ่ในหมู่มนุษย์

                                                                                       ทั้งปวง อสุรภังคีนี้มีจิตต�่าหยาบช้า
                                                                                       เที่ยวเบียดเบียนตลอดสามโลก ก่อ
                                                                                       ให้เกิดความเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า
                                                                                       ด้วยเหตุนี้เอง พระอิศวรเป็นเจ้าจึง
                                                                                       ทรงนิ่งดูดายอยู่ไม่ได้ จึงด�ารัสให้
                                                                                       พระขันธกุมารเทวบุตรลงไปปราบ

                                                                                       อสุรภังคีนี้เสีย แต่ทรงเล็งเห็นว่า
                                                                                       ถ้าพระขันธกุมารเทวบุตรไม่โสกันต์
                                                                                  ๒    เสียก่อน ก็ดูจะไร้เดียงสาเกินไป

     36
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43