Page 56 - Culture3-2017
P. 56

๑





          ต้องตามฤดูกาล  พระเจ้าฝนแสนห่าเป็นพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชัย  และหากกล่าวถึงพิธีกรรมขอฝนที่คนไทย
          เชียงแสนลังกา ปัจจุบันประดิษฐานที่วัดช่างแต้ม ชาวเชียงใหม่นับถือว่าเป็น  รู้จักดีหรือเคยรับรู้กันมา คงได้แก่พิธีแห่นางแมว
          พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองมานับแต่อดีต จึงถูกอัญเชิญเข้าร่วมขบวนแห่  ที่จัดกันทั้งภาคกลางและอีสาน มีที่มาจากความเชื่อ

          รอบเมืองในโอกาสวันส�าคัญต่าง ๆ ของเชียงใหม่อยู่เสมอ           ที่ว่าแมวเป็นสัตว์เก้าชีวิต เสียงแมวร้องเป็นสัญญาณ
               ดังเช่นในงานประเพณีบูชาเสาอินทขิลของวัดเจดีย์หลวง ก็มีการอัญเชิญ  ว่าโลกก�าลังเดือดร้อน ทวยเทพจึงบันดาลให้ฝนตก
          พระเจ้าฝนแสนห่าขึ้นประดิษฐานรถบุษบกแห่ไปรอบเมืองเพื่อให้ชาวเชียงใหม่   เพื่อสร้างความฉ�่าเย็น หรืออีกความเชื่อหนึ่งที่ว่า
          ได้สรงน�้าด้วยจิตศรัทธา จากนั้นจึงอัญเชิญมาประดิษฐานที่หน้าวิหารวัดเจดีย์หลวง   แมวเป็นสัตว์ที่เกลียดฝน ชาวบ้านจึงถือเคล็ดว่าหาก
          ติดกับวิหารเสาอินทขิล ให้คนได้กราบไหว้บูชาเป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน  แมวร้องจะเป็นเหตุให้ฝนตก
               ส่วนทางภาคกลางนั้นก็มีพระราชพิธีพิรุณศาสตร์ หรือพระราชพิธี     พิธีแห่นางแมวมักจัดในช่วงบ่ายคล้อย ชาวบ้าน
          เดือน ๙ ซึ่งเป็นพระราชพิธีโบราณที่บูชาขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยดลบันดาลให้ฝนตก    จะหานางแมวสีด�า หรือบางท้องถิ่นใช้แมวสีอื่นก็ได้
          มีมานับแต่สมัยสุโขทัย สืบเนื่องมาถึงสมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์ ดังเช่น   น�ามาขังใส่กระทอหรือเข่งมีฝาปิดด้านบน สอดไม้คาน
          หลักฐานจากจิตรกรรมฝาผนังที่วัดเสนาราม จังหวัดอยุธยา ก็มีภาพพระราชพิธี  ให้สองคนหาม แล้วตั้งขบวนแห่ไปในหมู่บ้าน เมื่อถึง
          พิรุณศาสตร์ ซึ่งในภาพจะเห็นพระสงฆ์อยู่ในพระที่นั่งองค์เล็ก ด้านหน้าพระที่นั่ง   เรือนใดคนก็วิดน�้าหรือสาดน�้าใส่เพื่อให้แมวร้อง
          มีบุรุษนุ่งขาวห่มขาวเกล้ามวยแบบพราหมณ์ก�าลังท�าพิธีบวงสรวง ด้านนอกก�าแพง  ผู้น�าท�าพิธีก็ร้องค�าเซิ้งแห่นางแมว คนในขบวนแห่
          มีเด็กก�าลังเล่นว่าว คนก�าลังจับปลาในนา บางคนป้องตามองดูท้องฟ้า   ก็ว่าตาม



          54
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61