Page 54 - Culture3-2017
P. 54
๑
ทั้งสองตัวอย่างข้างต้นสะท้อนถึงระบบความเชื่อของคนโบราณว่ากบและ ร้อนถึงพญาคันคากต้องกลายร่างกลับเป็นคางคก
คางคก (คันคาก) เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ สามารถสื่อสารกับอ�านาจเหนือธรรมชาติ แล้วสั่งให้ปลวกก่อมูลดินสร้างทางขึ้นไปบนฟ้า จากนั้น
ให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้ผืนดิน จนกลายเป็นที่มา เกณฑ์สัตว์ต่าง ๆ ทั้งต่อ แตน ผึ้ง มอด งูแมงป่อง เต่า
ของต�านานเก่าแก่เรื่อง “พญาคันคาก” อันผูกโยงกับประเพณีการจุดบั้งไฟ ปู ปลา กบ เขียด ช้าง ม้า วัว ควาย ฯลฯ ยกทัพขึ้นไป
ขอฝนของชาวไทยอีสาน สู้รบกับพญาแถนจนได้รับชัยชนะ
ปัจจุบันประเพณีบุญบั้งไฟจัดกันแพร่หลายในจังหวัดทั่วภาคอีสาน เช่น พญาคันคากจึงยื่นเงื่อนไขให้พญาแถนบันดาล
อุบลราชธานี ยโสธร กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด สุรินทร์ ศรีสะเกษ อ�านาจเจริญ ฯลฯ ฝนตกสู่โลกดังเดิม โดยมีข้อตกลงว่าต่อไปนี้หากมนุษย์
ในช่วงเดือนหกซึ่งเป็นต้นฤดูฝน ต้องการฝนเมื่อใด ก็จะจุดบั้งไฟขึ้นสู่ฟ้าเป็นสัญญาณ
ต�านานเรื่องพญาคันคากหรือคางคกยกรบพญาแถน ที่มาของประเพณี ให้พญาแถนรับรู้
บุญบั้งไฟ เล่าถึง “พญาคันคาก” เจ้าชายแห่งเมืองอินทปัตถ์นครซึ่งเมื่อแรก บุญบั้งไฟหรือบุญเดือนหกจึงเป็นประเพณีส�าคัญ
ประสูติมีผิวพรรณตะปุ่มตะป�่าคล้ายคางคก แต่ด้วยความเพียรปฏิบัติธรรมจึง ที่ชาวอีสานปฏิบัติสืบมาแต่โบราณ แต่เดิมนั้นจะจัด
เปลี่ยนโฉมเป็นชายรูปงาม มนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งหลายพากันยกย่องสรรเสริญ เพียงสองวัน คือ วันแรกเรียกว่า “วันโฮม” เป็นวันแห่
กระทั่งลืมบวงสรวงพญาแถน-เทวดาผู้ควบคุมฟ้าฝน ขบวนบั้งไฟไปรวมกัน และวันรุ่งขึ้นเป็นวันจุดบั้งไฟ
พญาแถนโกรธเคืองโลกมนุษย์มาก จึงดลบันดาลไม่ให้ฝนตกเป็นเวลานาน ทว่าทุกวันนี้หากเป็นงานใหญ่ในระดับจังหวัด เช่น
เกิดความแห้งแล้งไปทุกหย่อมหญ้า จนสัตว์และพืชต้องล�าบากยากแค้แสนสาหัส งานบุญบั้งไฟประจ�าปีที่มีชื่อเสียงของจังหวัดยโสธร
52