Page 61 - Culture3-2017
P. 61

ต้นไม้ใหญ่ในประเทศไทยมีอยู่ทั่วไปทั้งในป่าธรรมชาติและ   เป็นต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่อายุ ๑๐๐ ปีขึ้นไป
            ที่อยู่ในเมือง ซึ่งประสบปัญหาแตกต่างกันออกไป ไม้ใหญ่ที่อยู่ในป่า  ส่วนใหญ่ต้นไม้ที่ได้รับการคัดเลือกส�าหรับจัดพิมพ์ในหนังสือ
            หากไม่ถูกตัดไปท�าประโยชน์ ก็จะสามารถยืนต้น แผ่กิ่งก้านสาขา  เล่มนี้มีอายุไม่ต�่ากว่า ๑๐๐ ปี ยกเว้นกลุ่มต้นเทพธาโร ที่จังหวัดพังงา
            ไปได้อย่างไม่มีขีดจ�ากัด หากอยู่ในเมืองที่เป็นต้นไม้ถนนหรือต้นไม้   ซึ่งมีอายุประมาณ ๘๐ ปี นอกจากนั้นมีอายุตั้งแต่ ๑๐๐ ปีไปจนถึง
            ในสถานที่ต่าง ๆ เมื่อเติบโตมีขนาดใหญ่ขึ้น มักสร้างปัญหาต่าง ๆ    ๑,๐๐๐ ปี เช่น ต้นจามจุรี (กาญจนบุรี), ต้นสมพง (ยะลา) และ
            ให้เกิดขึ้น หากไม่สามารถแก้ปัญหาให้ถูกวิธีก็จะแปรสภาพเป็นต้นไม้  ต้นสัก (อุตรดิตถ์)
            ที่พิกลพิการ อ่อนแอ ไม่แข็งแรง และตายไปในที่สุด
                  การรณรงค์เพื่อให้เกิดกระแสการรักต้นไม้ใหญ่เกิดขึ้นเป็น
            ระยะ ๆ เช่น การจัดประกวดต้นไม้ใหญ่ใกล้ตัว การประกวดต้นไม้
            ใหญ่ในกรุงเทพฯ  “ต้นไม้มหานคร” (Bangkok Big Trees) เป็นต้น

            และล่าสุดเมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ มีการเปิดตัวหนังสือ
            “รุกข มรดกของแผ่นดินใต้ร่มพระบารมี” ซึ่งหนังสือดังกล่าว
            เป็นการรวบรวมต้นไม้ใหญ่จ�านวน ๖๕ ต้นจากทั่วประเทศ จัดพิมพ์
            โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม โดยมีวัตถุประสงค์
            ในการจัดพิมพ์ คือ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
            มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เนื่องในโอกาสทรงเจริญ
            พระชนมพรรษา ๖๕ พรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เพื่อการปลูกฝัง
            ความรักต้นไม้ให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชนชาวไทย รวมทั้งส่งเสริม
            การท่องเที่ยวในจุดที่มีต้นไม้นั้น ๆ เจริญเติบโต


                  คุณสมบัติของต้นไม้ทั้ง ๖๕ ต้นที่ได้รับการคัดเลือก แต่ละต้น
            อาจจะมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อรวมกัน คือ
                  ๑. มีขนาดใหญ่ อายุประมาณ ๑๐๐ ปีขึ้นไป
                  ๒. มีความส�าคัญทางประวัติศาสตร์ มีต�านานหรือเรื่องเล่า

            ประกอบ
                  ๓. อยู่ในพื้นที่ที่มีความส�าคัญทางวัฒนธรรม หรือสถานที่
            ส�าคัญต่าง ๆ
                  ๔. เป็นต้นไม้หายากหรือใกล้สูญพันธุ์
                  ๕. มีความสอดคล้องกับระบบนิเวศพื้นฐาน
                  ผู้เขียนขอยกตัวอย่างต้นไม้ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ก�าหนด
            ข้างต้น เช่น


                                                                 ต้นจามจุรี จังหวัดกาญจนบุรี
                                                                 แผ่กิ่งก้านสาขาปกคลุมพื้นที่ถึง ๑ ไร่ ๒ งาน ๔ ตารางวา







                                                                                           กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๐    59
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66