Page 47 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๖๐
P. 47
ในช่วงต้นรัตนโกสินทร์การเล่นหลายอย่างสืบสานต่อมา ประมาณหนึ่งคืบ จากนั้นจึงแบ่งผู้เล่นออกเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายตี
จากสมัยอยุธยา มีการเล่นที่นิยมหลายอย่างสอดคล้องกับสถานการณ์ (หรือฝ่ายรุก) และฝ่ายรับ จ?านวนผู้เล่นจะเป็น ๒ คู่ ๓ คู่ หรือ
บ้านเมืองในเวลานั้นที่ยังมีศึกสงคราม ราชส?านักจึงส่งเสริมการเล่น คู่เดี่ยวก็ได้
ที่สามารถต่อยอดรับใช้บ้านเมืองได้ในยามจ?าเป็น อาทิ ชกมวย
ขี่ม้า ขี่ช้าง พายเรือ ฝึกฝนการต่อสู้ป้องกันตัว รวมทั้งฝึกอาวุธ วิธีการเล่น
ต่าง ๆ เช่น ดาบ กระบี่ พลอง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จึงกลายเป็นการเล่น เริ่มต้นด้วยการเดาะลูกหึ่มเพื่อหาฝ่ายตีและฝ่ายรับ โดย
และกีฬาพื้นบ้านที่ชาวบ้านทั่วไปนิยมเล่นไปในที่สุด แต่ก็มีการเล่น เอาไม้แม่ที่เตรียมมาเดาะไม้ลูก ใครเดาะได้จ?านวนครั้งมากกว่า
อีกหลายอย่างที่นิยมเล่นกันแต่เพียงในหมู่เด็ก ๆ เพื่อความสนุกสนาน ผู้นั้นจะเป็นผู้เริ่มเล่นก่อน (กติกาหาผู้เล่นก่อนหลังไม่ได้เป็นกฎ
เสริมสร้างสุขภาพ เช่น การละเล่นที่เรียกว่า “ไม้หึ่ม” ตายตัว หรือในบางที่อาจจะใช้วิธีจับไม้สั้นไม้ยาว) วิธีการเล่นของ
ไม้หึ่มมีรูปแบบที่ต้องอาศัยกฎกติกาในการเล่น อุปกรณ์ ฝ่ายตีนั้นมีสองแบบ คือ การงัดไม้ลูกและการตีไม้ลูก
การเล่นคือ ไม้แม่ และไม้ลูก แรกเริ่มผู้เล่นต้องหาไม้ที่มีขนาด เมื่อแบ่งฝ่ายได้แล้ว ให้ฝ่ายตีขุดดินเป็นรางสั้น ๆ (หรือ
พอเหมาะกับตัวเอง ซึ่งควรเป็นไม้สดเพราะมีความเหนียวไม่หักง่าย หลุม) ลึกประมาณสองนิ้ว จากนั้นเอาไม้ลูกวางพาดขวางไว้บนหลุม
เวลาเล่น ไม้แม่ควรมีความยาวเกินหนึ่งศอก ส่วนไม้ลูกมีความยาว ที่ขุด ฝ่ายรับต้องสังเกตดูว่าฝ่ายตีนั้นวางไม้ลูกไว้ในทิศทางใด
๔
เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐ 45