Page 78 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 78
พระราชนิพนธ์เรื่องแรก ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รวม
คือ พระราชานุกิจรัชกาลที่ ๘ เวลา ๗ วัน ตั้งแต่วันที่ ๑๖ ถึงวันที่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทร- ๒๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙
มหาภูมิพลอดุลยเดชในขณะทรง ทรงบรรยายถึงพระราชกรณียกิจ
ด?ารงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จ- ในแต่ละวัน และมีพระราชด?าริถึง
พระราชอนุชาในพระบาทสมเด็จ- บุคคลและสิ่งต่าง ๆ ในประเทศไทย
พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรง และประเทศที่เสด็จผ่าน
พระราชนิพนธ์ตามค?ากราบบังคมทูล พระราชนิพนธ์เรื่องนี้บันทึก
ขอพระราชทานของหม่อมเจ้าหญิง ความรู้สึกของพระองค์ช่วง ๓ วัน
พูนพิศมัย ดิศกุล เพื่อให้มีพระราชา- สุดท้ายที่ประทับอยู่ในประเทศไทย
นุกิจกรุงรัตนโกสินทร์ครบแปด และขณะเสด็จพระราชด?าเนินกลับ
รัชกาล พระราชานุกิจ หมายความถึง ไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เนื้อหา
พระราชกิจที่พระเจ้าแผ่นดินทรง แสดงความรักความผูกพันและ
ปฏิบัติเป็นประจ?าทุกวันเป็นการส่วน ความห่วงใยพสกนิกรของพระองค์
พระองค์ ไม่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ทรงใช้ภาษาได้อย่างเห็นภาพและ
พระราชนิพนธ์เรื่องนี้เรียบเรียงด้วย สะเทือนอารมณ์จนเป็นที่จับใจ
ภาษาที่กระชับชัดเจนและสละสลวย ไม่ว่าจะอ่านพระราชนิพนธ์นี้
แสดงพระปรีชาชาญด้านภาษาไทย สักกี่ครั้ง ดังเช่นพระราชบันทึก
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร- ในวันที่ ๑๘ สิงหาคม ความตอน
มหาภูมิพลอดุลยเดชตั้งแต่ยังทรง หนึ่งว่า
พระเยาว์ พระราชนิพนธ์เรื่องนี้
แสดงพระราชานุกิจของพระบาท- “วันที่ ๑๘ สิงหาคม พุทธศักราช
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระราชจริยวัตรอันงดงาม ๒๔๘๙ - เราจะต้องจากไปในวันพรุ่งนี้แล้ว! อะไร ๆ ก็จัดเสร็จหมด
และความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างพระองค์กับสมเด็จพระบรม- หมายก?าหนดการก็มีอยู่พร้อม...บ่ายวันนี้เราไปถวายบังคมลา
ราชชนนี สมเด็จพระพี่นาง และสมเด็จพระอนุชา พระบาทสมเด็จ- พระบรมอัฐิของพระบรมราชบุพพการีของเรา ทั้งสมเด็จพระมหา
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ กษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีในรัชกาลก่อน ๆ แล้วก็ไปถวาย
พิมพ์พระราชนิพนธ์เรื่องพระราชานุกิจรัชกาลที่ ๘ พระราชทาน บังคมลาพระบรมศพ เราต้องทูลลาให้เสร็จในวันนี้ และไม่ใช่พรุ่งนี้
ในการพระราชกุศล ๑๐๐ วัน พระบรมศพพระบาทสมเด็จ- ตามที่ได้กะไว้แต่เดิม เพื่อจะรีบไม่ให้ชักช้า เพราะพรุ่งนี้จะได้มีเวลา
พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช แล่นรถช้า ๆ ให้ราษฎรเห็นหน้ากันโดยทั่วถึง
๒๔๘๙ เมื่อออกจากพระที่นั่งไพศาลทักษิณมายังพระที่นั่งอมรินทร-
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วินิจฉัย ผู้คนอะไรช่างมากมายเช่นนั้น! - เมื่อวานนี้เจ้าหน้าที่ได้เข้ามา
ทรงพระราชนิพนธ์ความเรียงบันทึกเรื่อง “เมื่อข้าพเจ้าจากสยาม ถามว่าจะอนุญาตให้ประชาชนเข้ามาหรือไม่ในขณะที่ไปถวายบังคม
สู่สวิทเซอร์แลนด์” เพื่อพระราชทานแก่หนังสือวงวรรณคดีเป็น พระบรมศพ ตอบเขาว่า “ให้เข้ามาสิ” เพราะเหตุว่าวันอาทิตย์เป็น
พิเศษ เมื่อเดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๙๐ พระราชนิพนธ์เรื่องนี้ วันส?าหรับประชาชน เป็นวันของเขา จะไปห้ามเสียกระไรได้ และ
เป็นรูปแบบบันทึกประจ?าวัน ทรงบันทึกไว้ตั้งแต่ ๓ วันก่อนเสด็จ ยิ่งกว่านั้นยังเป็นวันสุดท้ายก่อนที่เราจะจากบ้านเมืองไปด้วย
พระราชด?าเนินออกจากประเทศไทยเพื่อไปศึกษาต่อ ณ ประเทศ ข้าพเจ้าก็อยากจะแลเห็นราษฎรเพราะกว่าจะได้กลับมาเห็นเช่นนี้
สวิตเซอร์แลนด์ ไปจนเสด็จพระราชด?าเนินถึงพระต?าหนักที่ประทับ ก็คงอีกนานมาก…”
76