Page 54 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 54
ด้านสถาปัตยกรรม
ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์
ภาคีราชบัณฑิตสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมที่ดี เรื่องที่สอง คือการออกแบบที่ดี ต้อง
ราชบัณฑิตยสถาน ต้องเคารพธรรมชาติ เคารพสิ่งแวดล้อมและท้องถิ่น ซึ่งปรากฏอยู่
เคารพมนุษย์ ผู้ใช้ ในการออกแบบก่อสร้าง “พระมหาธาตุเฉลิม-
การออกแบบก่อสร้างที่ดีไม่ได้หมายถึง สถาปัตยกรรมนั้น ราชศรัทธา” ที่วัดไทยกุสินาราเฉลิมราชย์
การออกแบบที่หรูหราหรือทันสมัยอย่างเดียว ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ประเทศอินเดีย ซึ่งก่อสร้างในปี ๒๕๓๙ (ใน
แต่มีหลายเรื่องที่เราอาจจะมองข้ามความส?าคัญ ทรงเป็นตัวอย่างของ วโรกาสเฉลิมฉลองทรงครองสิริราชสมบัติ
ไป ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ ๙ ของเราไม่เคยลืมเรื่อง ผู้ที่คิดรอบด้าน ให้เกิด ครบ ๕๐ ปี ของในหลวงรัชกาลที่ ๙) ซึ่งต้อง
ส?าคัญเลย สถาปัตยกรรมที่ดี ก่อสร้างไม่เกินกว่าความสูงของสิ่งแวดล้อม
เรื่องแรก การออกแบบที่คิดถึงผู้พิการ คือสถาปัตยกรรมที่ ตามกฎหมายท้องถิ่น เช่นเดียวกับการสร้าง
และผู้ชรา มีบันทึกถึงตอนที่สถาปนิกออกแบบ เคารพทั้งธรรมชาติ พระอุโบสถวัดพุทธประทีป ที่ลอนดอน
พระเมรุมาศของสมเด็จพระนางเจ้าร?าไพพรรณี และมนุษย์ ถ้าแม้พระองค์ท่านจะให้ก่อสร้างแบบ
ที่ท้องสนามหลวง ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงตรัส ผิดกฎหมายไปบ้าง ก่อสร้างอย่างไม่เกรงใจ
ต่อสถาปนิก คือ ท่านอาจารย์ประเวศ ลิมปรังษี ว่า “ฐานพระเมรุมาศ สิ่งแวดล้อมไปบ้าง คงจะสามารถท?าได้ แต่พระองค์ทรงไม่กระท?า
ไม่ควรสูงนัก จะเป็นการล?าบากส?าหรับผู้สูงอายุในการขึ้นไปถวาย และต้องการให้ทุกอย่างนั้นถูกต้องตามกฎหมาย และเป็นมิตร
พระเพลิงพระบรมศพ” ต่อชุมชนโดยรอบ
พระองค์ทรงตรัสและเป็นห่วงอย่างนี้ก่อนที่พวกเราจะเริ่ม เรื่องที่สาม การออกแบบอย่างประหยัด ตัวอย่างที่ดีที่สุด
รณรงค์เรื่องอาคารส?าหรับผู้พิการ อาคารส?าหรับเด็กและผู้ชรา คือ พระอุโบสถวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เป็นวัดที่สร้างตาม
และก่อนที่กฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้จะออกมาหลายปีมาก พระราชด?าริ โดยท่านต้องการให้เป็นวัดตัวอย่างของชุมชน เป็น
วัดขนาดเล็กของชุมชนที่ใช้งบประมาณอย่างประหยัด เรียบง่าย
เน้นประโยชน์สูงสุด จะเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของชุมชน
เล็ก ๆ ในเมือง อบรมศีลธรรมและเผยแพร่ศาสนา เป็นศูนย์รวมใจ
ในการพัฒนาชุมชน
เริ่มแรกนั้น สถาปนิกคือ พลอากาศตรีอาวุธ เงินชูกลิ่น
ได้ออกแบบร่างครั้งแรกถวาย เป็นพระอุโบสถที่บรรจุคนได้
ประมาณ ๑๐๐ คน และใช้งบประมาณค่าก่อสร้างอย่างประหยัด
ที่ ๕๗ ล้านบาท ซึ่งเมื่อพระองค์ท่านได้ทอดพระเนตรแล้ว ด้วยไม่
โปรดให้สร้างสิ่งก่อสร้างใหญ่โตเกินความจ?าเป็น จึงให้ลดขนาดลง
เหลือบรรจุคนได้ ๓๐-๔๐ คน เหมาะสมกับกิจกรรมชุมชน และ
ลดงบประมาณลงเหลือเพียง ๓ ล้านบาท ท?าให้วัดพระราม ๙
ซึ่งเป็นวัดส?าคัญ เป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมที่ถ่อมเนื้อถ่อมตัว
ประหยัด ใช้วัสดุในประเทศเป็นส?าคัญ แต่คงรักษารูปแบบของ
สถาปัตยกรรมไทยไว้ได้
52