Page 111 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 111
ระหว่างทางคือเกษตรกรรม”
ศูนย์ฯ เริ่มลงมือฟื้นฟูป่าเป็นล?าดับแรก
ทรงมีพระราชด?าริให้สร้างอ่างเก็บน?้าตาม
หุบดอยต่าง ๆ แล้วส่งน?้านั้นโดยคลองไส้ไก่
กระจายออกตามคูคลองก้างปลา แล้วผืนดิน
เปลี่ยวร้างก็เริ่มคืนชีวิต ความชุ่มชื้นก่อเกิด
ต้นไม้ให้ผลเก็บเกี่ยว
ภายในศูนย์ฯ มีนิทรรศการในศาลา
อเนกประสงค์ห้วยฮ่องไคร้ เพื่อรับรู้ถึง
ความเป็นมาของศูนย์ฯ จากนั้นจะมีฝ่าย
ศึกษาและพัฒนาป่าไม้ ฝ่ายศึกษาการเพาะ
เลี้ยงสัตว์ป่าในพื้นที่ต้นน?้า เส้นทางเดิน
ศึกษาธรรมชาติ งานประมง ฝ่ายอนุรักษ์
และพัฒนาพันธุ์กบ อาคารนิทรรศการ ปศุสัตว์
และโคนม พัฒนาที่ดินเกษตรกรรมแบบ
ประณีต ฝ่ายศึกษาและทดสอบการปลูกพืช
ไม่นับรวมงานศึกษาและวิจัยอีกกว่า ๒๐๐
โครงการ
ภาพที่ตราตรึงจากห้วยฮ่องไคร้อีกภาพ
คือฝูงนกยูงไทย ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่านกยูงไทย
ในธรรมชาติเหลืออยู่น้อยเต็มที ส?าหรับ
ห้วยฮ่องไคร้ ดินแดนที่เคยทุรกันดาร แต่ทุก
วันนี้กลับได้เห็นนกยูงไทยบินร่อนอยู่เหนือ
อ่างเก็บน?้า ไม่ต้องสงสัยเลยว่าลุ่มน?้าแห่งนี้
กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้งแล้ว
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรง ๑๐ เดือนให้หลัง ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้
ปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญด้านปศุสัตว์เรื่องการ ทรงขอใช้บริเวณลุ่มน?้าห้วยฮ่องไคร้ อ?าเภอ
เลี้ยงโคนม เขากราบทูลฯ พระองค์ว่าที่นี่ ดอยสะเก็ด เป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาแห่ง ที่ตั้ง : ป่าขุนแม่กวง อ?าเภอดอยสะเก็ด
มีแต่หินคงเลี้ยงได้สองสามตัวเท่านั้น ใหม่ พื้นที่ราว ๘,๕๐๐ ไร่ โดยมีพระราช- จังหวัดเชียงใหม่
พระองค์ทรงบันทึกไว้ว่า “...เรื่องเดิม ประสงค์ให้เป็นศูนย์กลางในการศึกษา เปิด : ทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.
เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ ไปตรวจ ทดลอง วิจัย เพื่อหารูปแบบของการพัฒนา ข้อมูลเพิ่มเติม โทร. ๐-๕๓๓๘-๙๒๒๘-๙,
เขื่อนห้วยฮ่องไคร้ตอนล่าง...ได้ปรึกษากับ ด้านต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคเหนือ ๐-๕๓๒๔-๘๐๐๔ ในเวลาราชการ
ผู้เชี่ยวชาญปศุสัตว์...เรื่องลู่ทางที่จะใช้ และเผยแพร่ให้กับชาวบ้านได้น?าไปปฏิบัติ
บริเวณเหนือเขื่อนส?าหรับการเลี้ยงโคนม ด้วยตนเอง น?ามาซึ่งแนวคิดหลักของศูนย์ฯ
เขาบอกว่า มีแต่หิน...” ที่ว่า “ต้นทางคือป่าไม้ ปลายทางคือประมง
มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐ 109