Page 113 - วารสารวัฒนธรรม ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มีนาคม ๒๕๖๐
P. 113
ส?าเร็จรูปที่ ๑ (ฝาง)” มีภาพถ่ายแสดงให้เห็น
ถึงพัฒนาการของโรงงานหลวงฯ ตั้งแต่อดีต
จนถึงปัจจุบัน มีรถโฟล์ก ซึ่งเป็นรถยนต์
พระราชทานเมื่อแรกก่อตั้งโรงงานหลวงฯ
มีเครื่องจักรของโรงงานหลวงฯ ที่ถูกน?้าป่าพัด
ถล่มมาจัดแสดงให้ชมด้วย นอกจากนี้ก็ยังมี
ภาพถ่ายของบ้านยาง ชุมชนที่ผสมกลมกลืน
กันอยู่ระหว่างชาวจีนยูนนาน ชาวไทยใหญ่
และชาวไทยภูเขา มีความหลากหลายใน
ความเชื่อและการนับถือศาสนา มีทั้งคนที่
นับถือพุทธ คริสต์ และอิสลาม ทว่าก็อยู่ร่วมกัน
อย่างร่มเย็น ก่อนออกจากพิพิธภัณฑ์ยังมี
เรื่องราวของบริษัทดอยค?าฯ และผลิตภัณฑ์
จากดอยค?าให้แวะซื้อแวะชิมกันอีกด้วย
การเที่ยวชมในส่วนต่อไปจะเข้าสู่พื้นที่
ที่มีชีวิต นั่นคือชุมชนบ้านยาง เริ่มต้นด้วยการ
ไปสักการะศาลเจ้าแม่กวนอิม แวะชมสถานี
คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน อนามัยเก่าแก่ ที่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ โปรดเกล้าฯ พระเนตรอันยาวไกลของในหลวงรัชกาล
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด?าริ (กปร.) ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่ชาวบ้านยาง ที่ ๙ มิใช่เพียงส่งเสริมการปลูกพืชผัก
ด?าเนินการฟื้นฟูโรงงานหลวงฯ ให้เป็น พิเศษสุดคือการได้เห็นบ้านดินของชาวจีน เมืองหนาว แต่ยังจัดการกับผลผลิตที่ได้
“พิพิธภัณฑ์โรงงานหลวงที่ ๑ (ฝาง)” แหล่ง ยูนนาน ซึ่งใช้อาศัยตั้งแต่เมื่อแรกอพยพมาอยู่ อย่างคุ้มค่า เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดกับ
เรียนรู้ด้านอุตสาหกรรมการเกษตรแปรรูป ที่นี่ มีเหลือไม่กี่หลังแล้วในชุมชน ชาวบ้านบอก ประชาชนของพระองค์
นับเป็นจุดเริ่มต้นของแหล่งท่องเที่ยวที่ ว่าบ้านดินนั้นอยู่สบายไม่ว่าฤดูไหน ฤดูร้อน
ไม่ควรพลาดหากมาถึงอ?าเภอฝาง ในบ้านจะเย็น ฤดูหนาว ในบ้านก็อบอุ่นเป็นสุข
อาจเพราะที่นี่มีความพิเศษ คือเป็น ส?าหรับคนที่ชอบชิมของกินพื้นถิ่น พิพิธภัณฑ์โรงงานหลวงที่ ๑ (ฝาง)
พิพิธภัณฑ์พื้นที่ที่มีชีวิต (Living Site ลองถามหาขนมก้ามปูจากชาวบ้านยาง
Museum) ประกอบไปด้วยอาคารพิพิธภัณฑ์ ในอดีตชาวจีนมุสลิมบ้านยางนิยมท?าขนม ที่ตั้ง : หมู่บ้านบ้านยาง ต?าบลแม่งอน
โรงงานหลวง และชุมชนบ้านยาง มาแบ่งกันกินที่มัสยิด ครอบครัวของคุณป้า อ?าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
ด้านในพิพิธภัณฑ์มี ๓ หัวข้อหลัก ได้แก่ ศิริวรรณเป็นครอบครัวหนึ่งที่คิดดัดแปลง เปิด : ทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.
โครงการหลวง โรงงานหลวงอาหารส?าเร็จรูป ขนมให้มีรูปร่างแตกต่างออกไป จากขนม ข้อมูลเพิ่มเติม โทร. ๐-๕๓๐๕-๑๐๑๙
ที่ ๑ (ฝาง) และบริษัทดอยค?า ผลิตภัณฑ์ กลม ๆ แบน ๆ ก็ท?าให้มีลักษณะคล้ายขาปู หรือ www.facebook.com/firstroy-
อาหาร จ?ากัด โดยมีเจ้าหน้าที่น?าชมด้วย แล้วเรียกว่า ขนมขาปู ปรากฏว่าเป็นที่ชอบใจ alfactory
ภายในห้อง “ก?าเนิดโครงการหลวง” จึงตัดสินใจท?าขาย พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น
มีภาพถ่ายเก่าแก่สมัยที่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ขนมก้ามปู หากินได้ที่บ้านยางที่เดียว
เสด็จพระราชด?าเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรทั่ว นอกจากจะได้รับรู้ถึงความเป็นมา
ภาคเหนือ และนี่คือที่มาของโครงการหลวง ของโครงการหลวงแล้ว พิพิธภัณฑ์ฯ แห่งนี้
ส่วนห้อง “ก?าเนิดโรงงานหลวงอาหาร ยังท?าให้เราอดที่จะซาบซึ้งไม่ได้ในสาย
มกราคม-มีนาคม ๒๕๖๐ 111