Page 92 - CultureMag2015-3
P. 92
บริเวณเชลียง (ศรีสัชนาลัย) และเมืองสุโขทัย ต่อมามีผู้ผลิต เม่ือกิจการด�ำเนินไปด้วยดี ประเสริฐ มโหธร ก็เปิด
และเรียกเครื่องปั้นดินเผาในภาคเหนือบางแหล่งว่าเคร่ือง กิจการเต็มรูปแบบ จ้างแรงงานในละแวกบ้านมาหัดปั้นหัด
สังคโลกเช่นกัน ส่วนชาวต่างชาติมักนิยมเรียกเคร่ืองสังคโลก เขียนลาย สร้างรายได้เป็นกอบเป็นก�ำ และน่ันคือท่ีมา
ตามคำ� ในภาษาฝรงั่ เศสวา่ “เซลาดอน” (celadon) ของ “กลุ่มสังคโลกดินเผาบ้านเกาะน้อย” ที่มีผลิตภัณฑ์ได ้
รับคัดเลือกให้เป็น ๑ ต�ำบล ๑ ผลิตภัณฑ์ ในปี ๒๕๔๖ และ
หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรบ์ นั ทกึ วา่ ในเขตศรสี ชั นาลยั ผลิตภณั ฑ์โอทอปห้าดาวในปี ๒๕๕๒
หรอื ทเี่ ดมิ เรยี กวา่ เมอื งเชลยี ง มกี ารผลติ เครอ่ื งสงั คโลกในราว
พทุ ธศตวรรษท ่ี ๑๙–๒๒ หลงั จากทรี่ ะยะแรกแหลง่ เตาเผาอยู่ “แต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดและใช้เวลา อย่าง
ทส่ี โุ ขทยั วา่ เฉพาะเตาทเุ รยี งสมยั กอ่ นทพี่ บในเขตตำ� บลปา่ ยาง ดนิ เหนยี วน ่ี ไดม้ าจากทอ้ งนาแถวน ้ี เขาขดุ บอ่ หนอง บงึ
และต�ำบลเกาะน้อยก็มีนับร้อยๆ เตา เครื่องสังคโลกเหล่าน้ี
เป็นสินค้าส่งออก จึงไปพบตามเมืองโบราณทั้งในเกาะชวา ให้รถขุดลงไปหลายสิบเมตร บางทีเขาก็มาบอก หรือเรา
สุมาตรา มะละกา ฟิลิปปินส์ และญ่ีปุ่น การผลิตเครื่อง
สังคโลกในเขตสุโขทัยค่อยๆ เส่ือมไปในช่วงสมัยอยุธยา รู้เองเราก็ไปขอมา ให้ค่ารถเขาขนมาให้ ค่าดินไม่เสีย
ตอนต้น และคงยุติลงอย่างสิ้นเชิงราวช่วงสงครามเสียกรุง
ศรีอยธุ ยาครัง้ ท่ ี ๑ เพราะเขาต้องขุดท้ิงอยู่แล้ว แต่บางช่วงท่ีออร์เดอร์เยอะ
ประเสริฐแอนติค เราก็ต้องส่ังดินจากเชียงใหม่ ได้ดินมาแล้วต้องเอามา
ใส่ตุ่ม ใส่น�้ำลงไปแล้วก็กวน ปิดตุ่มไว้หลายวัน แล้วต้อง
จ้างคนมานวดดิน นวดให้นิ่มเหมือนนวดแป้งทำ� ขนมจีน
นนั่ แหละ ทเี่ หน็ ดนิ ในกระบะวางอยนู่ น่ั กต็ อ้ งพักไว้กอ่ น
ไมใ่ ชจ่ ะเอามาปั้นได้ทันที”
วันน้ีด้วยวัยท่ีมากข้ึน ประเสริฐ มโหธร ไม่ได้ผลิต ความสขุ ทีแ่ ทจ้ ริง
สังคโลกเองมาราว ๘ ปีแล้ว แต่ก็ยังควบคุมการผลิตอยู่บ้าง
หน้าท่ีส�ำคัญคือการต้อนรับผู้มาเยือนและบอกเล่าถึงสินค้า หากจะคิดค�ำนวณราคาสินค้าในโลกธุรกิจแล้ว เครื่อง
ณ ร้านจ�ำหน่ายสินค้าหน้าบ้านพักอาศัย ส่วนโรงงานขนาด สังคโลกในวันน้ีก็ยังไม่สูงเกินเอื้อม จานขนาดกลางท่ีร้าน
ย่อมท่ีเป็นอุตสาหกรรมครัวเรือนนั้นคือโรงเรือนช้ันเดียวอยู ่ ประเสริฐแอนติคผลิตและจ�ำหน่ายอยู่ที่ราว ๗๐๐–๑,๕๐๐
ถัดไป มี รณชัย มโหธร ลูกชายคนที่ ๓ เป็นผู้ควบคุมดูแล บาท พระพทุ ธรปู เทวรปู ตกุ๊ ตาชา้ งมา้ ขนาดสงู ราว ๕–๖ นว้ิ
ซึ่งเปิดให้ผู้มาเยือนเย่ียมชมและทดลองผลิตเครื่องปั้นดินเผา ตกราว ๔๐๐–๕๐๐ บาท ชุดกาแฟ ๑๕๐ บาท สว่ นตุก๊ ตาดิน
ไดด้ ว้ ยตนเอง ประเสริฐเล่าย้อนกลับไปวา่ เผาตวั ขนาดมือกำ� ไดม้ สี นนราคาเพยี ง ๑๐ บาท
“พอเถา้ แกท่ มี่ าสง่ั จานมารบั ของไป ผมกค็ ดิ เปดิ รา้ น ในทรรศนะของ ประเสรฐิ มโหธร เครอื่ งสงั คโลกทผ่ี ลติ
ขึ้นใหม่ในปัจจุบันน้ันเป็นทั้งหัตถศิลป์และสินค้า หรืออาจจะ
ก่อนจะมีศูนย์ศึกษา-อนุรักษ์เตาสังคโลก ของกรมศิลป์ เรียกได้ว่าเป็นพาณิชยศิลป์ เพราะหากท�ำตามแต่ใจตัวเอง
โดยไมส่ นใจตลาดหรอื ความตอ้ งการของลกู คา้ กค็ งอยไู่ มร่ อด
มาตั้งตรงข้ามบ้าน ผมมีลูกชายสามคน คนกลางเสียไป
“เขาเอาตัวอย่างมาให้ดูกันบ่อยๆ หนังสือบ้าง
แลว้ ทเี่ หลอื ทแี รกเขากไ็ มส่ นใจ ชอบทำ� นามากกวา่ ตอ้ ง รปู ภาพกม็ ี ชว่ ง ๘ ปกี อ่ นขายดมี าก คนมาเทยี่ วกนั มาก
ไม่ขาดสาย ท้ังไทยทั้งต่างประเทศ อย่างพระคเณศน่ี
คุยกันอยู่นานกว่ารณชัยจะยอมท�ำ แรกๆ เราก็ลองผิด พวกญปี่ นุ่ ชอบมาก แตเ่ ปน็ แบบใหมท่ เี่ พงิ่ ท�ำไมถ่ งึ ๑๐ ปี
สว่ นใหญข่ องในรา้ นเลยี นจากของเดมิ ทผี่ มเคยเหน็ ในเตา
ลองถูกกัน ท�ำแบบต่างๆ มากข้ึน พวกตุ๊กตาช้างม้า โบราณท้ังน้ัน บางคนเคยซ้ือของบางชิ้นไป แล้วจะกลับ
ตะเกียง โถ แจกัน ฯลฯ ผมเคยเห็นวางตั้งอยู่ในเตา
โบราณทง้ั นน้ั ในเตาเขาไมไ่ ดเ้ ผาพวกจานชามอยา่ งเดยี ว
นะ มสี ารพดั พนื้ เตาจะเอยี งๆ แบบเทลาด มที รายแมน่ ำ้�
อยทู่ พ่ี นื้ เหมอื นจะใชท้ รายเทปเู ปน็ พนื้ หรอื เปลา่ เรากไ็ มร่ ”ู้
90 วัฒนธ รม