Page 74 - CultureMag2015-3
P. 74
สถานการณ์ภาษาบีซู โครงการแรกเกิดข้ึนในปี ๒๕๕๓ เร่ือง “แนวทางการ
สร้างกระบวนการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมบีซูท่ีเหมาะสม
ปัจจบุ ันในหมู่บา้ นคนบซี ูใช้ภาษาบซี กู ันนอ้ ยลง เดก็ ๆ กบั เดก็ เลก็ ชาวบซี ู บา้ นดอยชมภ ู ตำ� บลโปง่ แพร ่ อำ� เภอแมล่ าว
ไม่สามารถส่ือสารด้วยภาษาบีซูกับพ่อแม่ปู่ย่าตายายได้ดีเช่น จังหวัดเชียงราย” มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาแนวทางการสร้าง
ที่ควรจะเป็น (คนรุ่นอายุ ๒๐ ปีข้ึนไปยังฟังและพูดภาษาบีซู กระบวนการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมบีซูท่ีเหมาะสมกับ
ได้ค่อนข้างดี) สาเหตุหน่ึงที่การใช้ภาษาบีซูถดถอยคือการ เดก็ เลก็ ชาวบซี ู
เปล่ียนแปลงวิธีการเลี้ยงดูบุตรหลานช่วงก่อนเข้าโรงเรียน
ทกุ วนั นค้ี นบซี ตู อ้ งดนิ้ รนเรอื่ งการประกอบอาชพี ทำ� งานรบั จา้ ง วิธีการที่คนบีซูทดลองใช้เพ่ือสร้างกระบวนการเรียนรู้
ตา่ งหมบู่ า้ นมากขนึ้ จงึ นำ� บตุ รหลานไปฝากเลย้ี งทศี่ นู ยเ์ ดก็ เลก็ ภาษาและวัฒนธรรมบีซูให้แก่เด็กเล็ก (๑ ขวบคร่ึง–๔ ขวบ)
ในหมู่บ้านอื่น (หมู่บ้านบีซูไม่มีศูนย์เด็กเล็ก) ภาษาท่ีเด็กบีซู ก็คือการสร้าง “รังภาษา” (language nest) เน้นทักษะการ
เรียนรู้เป็นภาษาแรกจึงกลายเป็นภาษาค�ำเมืองตามท่ีผู้ดูแล ฟงั -พดู เรยี นรตู้ ลอดเวลากบั พอ่ แม ่ ปยู่ า่ ตายาย และคนอน่ื ๆ
ใช้ ส่งผลให้เด็กบีซูเกิดความไม่เข้าใจภาษาแม่ (Mother ในชมุ ชน กอ่ นทจ่ี ะไปสกู่ ารเรยี นภาษาทอ้ งถน่ิ อยา่ งเปน็ ระบบ
language) ตลอดจนไม่เข้าใจค�ำส่ังสอน ประเพณี พิธีกรรม ตอ่ ไป
ภูมิปัญญาต่างๆ ของบีซู ขาดความรักและภาคภูมิใจใน
ความเป็นบีซู อันเป็นสาเหตุท่ีจะท�ำให้ภาษา วัฒนธรรม โครงการที่ ๒ คือ “บีซูอางเกิ่ง อางกอ เฮล่น** ยา
ประเพณี และภมู ปิ ญั ญาบซี เู ผชญิ กบั วกิ ฤต และอาจจะสญู สน้ิ (แหล่งเรียนรู้ของเก่าชาวบีซู) บ้านดอยชมภู ต�ำบลโป่งแพร่
ไปในท่ีสดุ อ�ำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย” มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ให้เด็กและเยาวชนเห็นคุณค่าและ
กแลาระอวนฒั รุ นักธษรแ์รลมะฟน้ื ฟูภาษา ความส�ำคัญของวัฒนธรรมชาวบีซู ศึกษารวบรวมองค์ความรู้
ภมู ปิ ญั ญา และวฒั นธรรมชาวบซี สู กู่ ารสรา้ งแหลง่ เรยี นรชู้ มุ ชน
เมอ่ื คนบซี ทู ราบและตระหนกั ถงึ สถานการณท์ างภาษา และเพอื่ สรา้ งความตระหนกั ใหก้ ลมุ่ เดก็ และเยาวชน ตลอดจน
และวัฒนธรรมของตนว่าก�ำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ก�ำลังเผชิญ คนในชุมชนได้เห็นคุณค่าและความส�ำคัญของภาษาและ
ความเสยี่ งวา่ อาจจะสญู หายได ้ จงึ รว่ มมอื กบั นกั ภาษาศาสตร์ วัฒนธรรมบีซู
ท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศ เพื่อหาวิธีการธ�ำรงรักษา
ภาษาและวฒั นธรรมให้คงอยตู่ ่อไป กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม เป็นอีก
หน่วยงานหนึ่งท่ีเล็งเห็นความส�ำคัญเร่ืองน้ี จึงประกาศข้ึน
การอนุรักษ์และฟื้นฟูภาษาบีซูเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี ๒๕๔๑ ทะเบยี นภาษาบซี เู ป็นมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ
มกี ารพฒั นาระบบตวั เขยี นภาษาบซี โู ดยใชอ้ กั ษรไทย การสรา้ ง ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๕๗ สาขาภาษา นับเป็นอีกหนทาง
สื่อการเรียนการสอนประเภทต่างๆ เช่น หนังสือเล่มเล็ก ในการปกปอ้ งคมุ้ ครองมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมทีก่ ำ� ลัง
หนังสือเล่มยักษ์ แบบเรียนภาษาบีซู เพลง แผนการจัดการ จะสูญหาย และเป็นหลักฐานส�ำคัญของประเทศที่ควรค่า
เรียนรู้ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนนี้ยังไม่ได้นำ� แก่การรกั ษาไว้เปน็ สมบตั ิของลูกหลานตอ่ ไป
เข้าสรู่ ะบบโรงเรยี น
** เสยี ง /ฮล/ ใช้เฉพาะในกลมุ่ ผสู้ ูงอายุเท่าน้ัน
ต่อมาชาวบีซูได้ท�ำโครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่นจากโจทย์
ปัญหาของชุมชนโดยตรง ได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักงาน
กองทนุ สนบั สนุนการวจิ ยั ฝ่ายวิจยั เพอ่ื ทอ้ งถิ่น
72 วัฒนธ รม