Page 73 - CultureMag2015-3
P. 73

ภาษาบซี ู	

      ภาษาบีซูจัดอยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า สาขาโลโล มีแต่ภาษาพูดไม่มีภาษาเขียน แต่เน่ืองจาก
คนบซี ใู นประเทศไทยเรยี นหนงั สอื ในระบบการศกึ ษาทใ่ี ชภ้ าษาไทยเปน็ สอื่ การเรยี นการสอน คนบซี ู
จงึ รว่ มกบั นกั ภาษาศาสตรจ์ าก SIL International มลู นธิ ภิ าษาศาสตรป์ ระยกุ ต ์ และศนู ยศ์ กึ ษาและ 
ฟื้นฟูภาษา-วัฒนธรรมในภาวะวิกฤต สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
พัฒนาระบบตัวเขยี นภาษาบีซูอกั ษรไทยข้นึ  

      แม้ระบบการเขียนภาษาบีซูจะใช้อักษรไทยเป็นฐาน แต่ก็มีการเพิ่มสัญลักษณ์ เช่นจุดใต้ตัว
อักษร เพอื่ แสดงว่าอักษรเหลา่ นอ้ี อกเสยี งแตกตา่ งจากภาษาไทย

      ตวั อักษรภาษาบซี  ู มีดงั นี้
      พยัญชนะตน้ เด่ียว ไดแ้ ก่ ก กง* ค ง จ จ ฺ ช ฺ ซ ซฺ ญ ด ต ท น บ ป พ ม ย ล ว อ ฮ 
      พยัญชนะตน้ ควบ ได้แก่ กย กล กว คย คล คว บย บล ปย พย พล
      พยญั ชนะสะกด ไดแ้ ก่ ก ง ด น บ ม ย ว
      สระเด่ียว ได้แก่   ◌ ี ◌ ื ◌ ู  เ◌  แ◌  เ◌อ  ◌า  โ◌  ◌อ  ความส้ันยาวของสระไม่จัดเป็นหน่วย 
เสยี งสำ� คัญท่ีจะทำ� ให้ความหมายเปล่ยี นแปลง  
      วรรณยุกต์ ได้แก่ เสียงระดับกลาง เช่น ยา jaa = ไร่    ระดับต�่ำตก เช่น ย่า jàa = คัน และ 
ระดับสูงข้ึน เช่น ย้า jáa = ไก่  อย่างไรก็ตามรูปและเสียงวรรณยุกต์ในภาษาบีซูจะตรงกัน ไม่ยึด 
ตามอกั ษรสามหมแู่ บบภาษาไทย 

      การเรียงคำ� ในประโยค มีลักษณะ ประธาน-กรรม-กริยา (SOV) เชน่  
      กงา  ฮา่ ง  จาฺ่ 			 <ฉนั -ขา้ ว-กิน>		 =     ฉนั กินข้าว
      นาง อางเมง บา้ เจอ			 <คณุ -ชือ่ -อะไร>		 =     คณุ ชอื่ อะไร
      กงา นางนา คา่ ลาว วือ ปี่ ล่าแอ	่ <ฉนั -คณุ -เสื้อ-ซ้อื -ให>้ 	 =     ฉนั ซอื้ เสอ้ื ใหค้ ณุ 	

* ออกเสียงเหมอื นเสยี ง /g / ในภาษาองั กฤษ

                                             ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 71
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78