Page 47 - CultureMag2015-3
P. 47

ต่ีจับ : การละเล่นพื้นบ้าน                                                 การเลน่ ตจี่ บั ในอดตี ไมเ่ พยี งแตเ่ ปน็ การละเลน่ ของเดก็
                                                                     เล็กๆ ด้วยหนุ่มสาววัยแรกรุ่นท่ียังถูกเน้ือต้องตัวกันไม่ได้
      การเล่นเตยหรือต่ีจับคล้ายกันตรงที่เป็นการออก                   เหมอื นในยคุ ปจั จบุ นั พงึ ใจเขา้ รว่ มการละเลน่ นใี้ นชว่ งเทศกาล
ก�ำลังกายกลางแจ้งอย่างสนุกสนาน แบ่งผู้เล่นเป็นสองฝ่าย                งานบุญต่างๆ อาทิ ช่วงสงกรานต์ เพราะถือเป็นโอกาสที่จะ
โดยให้ฝ่ายรุกพยายามฝ่าเข้าไปในดินแดนของฝ่ายรับเช่น                   ได้ไล่ต้อนเพศตรงข้ามหรือเกี้ยวกันอย่างเปิดเผย โดยไม่ถูก
เดยี วกนั  ตง้ั ขอ้ ตกลงหลกั ๆ อยา่ งไมม่ เี วลาและกตกิ าปลกี ยอ่ ย  สงั คมนินทาเชน่ เดยี วกบั การละเล่นลกู ชว่ ง สะบา้  ฯลฯ
มาก�ำหนดมากนัก  ขีดเส้นสมมุติทางขวางขึ้นเช่นเดียวกัน
มีชื่อเรียกที่บ่งบอกตรงตัว โดยต่ีจับนั้น ผู้เล่นจะต้องร้องค�ำ              ไม่มีใครตอบได้แน่ชัดว่าการละเล่นตี่จับเกิดข้ึนใน
ว่า “ต่ี” อย่างต่อเนื่อง และต้องไม่ให้ตนเองถูกฝ่ายตรงข้าม            ประเทศไทยครั้งแรกเม่ือใด เพียงแต่รับรู้กันว่ามีมาเน่ินนาน
“จบั ” ได้                                                           ปู่ย่าตายายรู้จักดี  “กาญจนาคพันธุ์” (ขุนวิจิตรมาตรา พ.ศ.
                                                                     ๒๔๔๐–๒๕๒๓) เขยี นเลา่ ไวใ้ นหนงั สอื  เดก็ คลองบางหลวง วา่
      ส่วนข้อแตกต่างท่ีเห็นชัดก็คือ การเล่นเตยนั้นฝ่ายรุก            สมัยท่านยังเด็กในยุครัชกาลที่ ๕ ตี่จับคือหน่ึงในการเล่น 
จะว่ิงเข้าไปในดินแดนฝ่ายรับพร้อมๆ กัน เมื่อถึงเส้นหน่ึงๆ             บนบกยอดนยิ มของเดก็ ผชู้ าย 
อาจแบ่งให้คนหน่ึงหลอกล่อ ท่ีเหลือก็ฝ่าเข้าด่านแรกๆ ไปได้
ง่าย แต่ต่ีจับน้ันฝ่ายรุกจะบุกแดนของฝ่ายตรงข้ามทีละคน                ต่ีจบั  : กฬี าพ้ืนเมอื ง
อาศัยความอึดว่องไว ไหวพริบปฏิภาณของตนล�ำพังต่อสู้กับ
ฝ่ายตรงข้ามราว ๔–๕ คน สิ่งส�ำคัญท่ีสุดคือฝ่ายรุกต้องออก                    จากการศึกษาประวัติศาสตร์กีฬาและการละเล่น 
เสียง “ตี่” อยู่ตลอดเวลา นับว่าต้องมีลมหายใจยาวหรือปอด               ของไทยตั้งแต่อดีต พบว่าอาจแบ่งออกได้เป็นสามลักษณะ
แข็งแรงสักหน่อย เพราะถ้าขาดเสียงก่อนฝ่าด่านได้หรือไม่ได้             อย่างแรกเป็นไปเพ่ือซ้อมพละก�ำลัง เตรียมรบทัพจับศึก เช่น
กลบั มายังแดนตนเพ่อื ผลดั คนกอ่ นหมดเสยี ง ก็ถอื วา่ แพ้             มวยปล�้ำ แข่งเรือ กระบ่ีกระบอง ข่ีช้าง ขี่ม้า ตีคลี เล่นว่าว
                                                                     อย่างที่สองเป็นการละเล่นตามเทศกาลงานประเพณี เช่น 
                                                                     ขบั พณิ  ฟอ้ นรำ�  ระบำ� โคม ฯลฯ อยา่ งทส่ี าม เปน็ ไปเพอ่ื ความ
                                                                     เพลิดเพลินในยามว่างปรากฏหลักฐานอยู่ในวรรณคดีเช่น ลิง
                                                                     ชิงหลัก ปลาลงอวน หวั ล้านชนกัน ชกั เย่อ เป็นตน้  

                                                                           เม่ือประเทศตะวันตกแผ่อิทธิพลมากข้ึนตั้งแต่สมัย
                                                                     รัชกาลท่ี ๔ เรื่อยมา เกมกีฬาใหม่ๆ เช่น โครเกต์ (croquet) 
                                                                     ราวเดอร์ (rounders) ฟุตบอล ฯลฯ เป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ 
                                                                     เจ้านายชั้นสูง  คร้ันหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก
                                                                     ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยเ์ ปน็ ระบอบประชาธปิ ไตยเมอ่ื ปี
                                                                     ๒๔๗๕ การกฬี าไดร้ บั การสง่ เสรมิ จากภาครฐั  เชน่  จดั ตง้ั กรม
                                                                     พลศึกษา ให้วิชาพลศึกษาเป็นส่วนหนึ่งในแผนการศึกษา 
                                                                     แห่งชาติ ส่งเสริมให้เกิดสมาคมกีฬาสากลสมัครเล่นต่างๆ 
                                                                     เพ่ิมข้ึน ฯลฯ ขณะเดียวกันก็เกิด “สมาคมกีฬาสยาม” ในปี

                                                                      ตลุ าคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 45
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52