Page 43 - CultureMag2015-3
P. 43
“เจ้าพอ่ ” แหง่ โคกขาม
ส�ำหรับชาวโคกขาม เมืองสมุทรสาคร พันท้ายนรสิงห์ คลองโคกขามไปออกที่บริเวณแม่น้�ำท่าจีน คลองขุดนี้กว้าง
มไิ ดเ้ ปน็ เพียงสามัญชนคนกล้าเทา่ นน้ั แต่ยงั ได้รบั การยกยอ่ ง ๕ วา ลกึ ๖ ศอก แลว้ เสรจ็ ในป ี ๒๒๕๒ รชั สมยั พระเจา้ อยหู่ วั
ให้เป็น “เจ้าพ่อ” ของท้องถ่ินโคกขาม ศาลพันท้ายนรสิงห์ ทา้ ยสระ พระราชทานนามว่า “คลองสนามไชย” (ต่อมาเรยี ก
สถานท่ีประดิษฐานรูปปั้นของท่านในชุดนายท้ายเรือสมัย “คลองมหาชัย” ส่วนชาวบ้านเรียก “คลองถ่าน” ปัจจุบันรู้จัก
อยธุ ยายนื ผง่ึ ผายพรอ้ มดว้ ยไมพ้ ายคดั ทา้ ยเรอื ในมอื กลายเปน็ ในช่ือ “คลองด่าน”) การขุดคลองลัดโคกขามคงท�ำให้การ
สถานท่ีศักด์ิสิทธ์ิท่ีคนทั้งในท้องถิ่นและคนต่างถ่ินที่มาถึง เดนิ ทางทางน้�ำสะดวกรวดเรว็ ขน้ึ และเสน้ ทางนเ้ี องนา่ จะเปน็
โคกขามตอ้ งแวะสกั การบชู า ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากพวงมาลยั มากมาย เส้นทางสัญจรท่ีส�ำคัญในอดีตดังท่ีสมเด็จพระบวรราชเจ้า
ที่คล้องทับกันเต็มไม้พายคัดท้ายเรือ และรูปปั้นไก่ชนท่ีผู้คน กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ทรงเลือกใช้เป็นเส้นทาง
นำ� มาสักการะตงั้ อยู่ท้ังภายในและภายนอกศาล เดนิ ทพั ไปรบกับพมา่ ท่ถี ลางและชมุ พรเม่ือปี ๒๓๕๒
มีผู้ท่ีศึกษาต�ำนานประจ�ำท้องถิ่นริมแม่น้�ำและชายฝั่ง นอกจากทโ่ี คกขามแลว้ ยงั มกี ารสรา้ งอนสุ าวรยี พ์ นั ทา้ ย
ทะเลภาคกลางจำ� แนกตำ� นานพนั ทา้ ยนรสงิ หว์ า่ จดั อยใู่ นกลมุ่ นรสิงห์ขึ้นที่วัดนรสิงห์ ต�ำบลนรสิงห์ อ�ำเภอป่าโมก จังหวัด
ต�ำนานไทยที่เป็นเจ้าพ่อประจำ� ถ่ิน (Mythical Legend) โดย อ่างทอง ดว้ ยเชือ่ วา่ ถ่ินนีเ้ ปน็ บ้านเกดิ ของทา่ น
อยู่ในกลุ่มเร่ืองราวของดวงวิญญาณของผู้เสียชีวิตในน้�ำหรือ
ริมน้�ำท่ีได้กลายเป็นส่ิงศักด์ิสิทธ์ิประจ�ำท้องน�้ำบริเวณที่เสีย จะเหน็ ไดว้ า่ นอกจากตำ� นานพนั ทา้ ยนรสงิ หจ์ ะมคี วาม
ชีวิต (reincarnation as water-spirit) ซึ่งลักษณะเช่นน้ีเป็น ส�ำคัญในฐานะบุคคลต้นแบบแล้วในอีกด้านหน่ึงต�ำนาน
ต�ำนานประจำ� ถ่นิ ทีป่ รากฏในหลายประเทศทว่ั โลก พันท้ายนรสิงห์สะท้อนความสัมพันธ์ของผู้คนกับภูมิประเทศ
ของท้องถ่ินริมแม่นำ้� ภาคกลางในอดีต ดังท่ีปรากฏตำ� นานส่ิง
ในอีกมุมหนึ่ง ต�ำนานพันท้ายนรสิงห์ยังสะท้อนถึง ศักด์ิสิทธ์ิประจ�ำถิ่นอีกหลายเร่ืองที่จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับ
ความสมั พนั ธข์ องผคู้ นกบั ภมู ปิ ระเทศในทอ้ งถน่ิ ดงั เนอ้ื เรอ่ื งที่ ตำ� นานพนั ทา้ ยนรสงิ หเ์ ชน่ เดยี วกนั หากแตม่ รี ายละเอยี ดของ
กลา่ วถงึ เหตทุ เี่ รอื พระทน่ี งั่ ของพระพทุ ธเจา้ เสอื ชนกงิ่ ไมร้ มิ ฝง่ั สภาพภูมิประเทศท่ีแตกต่างกันไป ความหมายจากต�ำนาน
ก็เพราะคลองโคกขามมีขนาดเล็กและคดเคี้ยวมาก ความ พนั ทา้ ยนรสงิ หจ์ งึ เปน็ ตวั อยา่ งหนง่ึ ทใ่ี หข้ อ้ มลู ทนี่ า่ สนใจในการ
คดเคี้ยวของคลองโคกขามจึงเป็นอุปสรรคส�ำคัญส�ำหรับการ ศึกษาเรื่องราวของท้องถ่ินประกอบกับเอกสารและข้อมูลอื่น
สัญจรทางน�้ำในบริเวณดังกล่าว ด้วยเหตุนี้พระพุทธเจ้าเสือ ไดเ้ ชน่ กัน
จงึ มรี บั สงั่ ใหพ้ ระยาราชสงครามคมุ ไพรพ่ ลท�ำการขดุ คลองลดั
อ้างอิง
ศิราพร ณ ถลาง. ทฤษฎีคติชนวิทยา : วิธีวิทยาในการวิเคราะห์
ต�ำนาน-นทิ านพน้ื บา้ น. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ ์
มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๗.
สายป่าน ปุริวรรณชนะ. ต�ำนานประจ�ำถ่ินริมแม่น�้ำและชายฝั่งทะเล
ภาคกลาง : ความสมานฉันท์ในความหลากหลาย. กรุงเทพฯ :
โครงการเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการ คณะอกั ษรศาสตร ์ จฬุ าลงกรณ ์
มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๒.
ตลุ าคม-ธนั วาคม ๒๕๕๘ 41