Page 105 - CultureMag2015-3
P. 105
ในพุทธศาสนา “ดอกไม้ทิพย์” บนสวรรค์ เป็นดอกไม้ ระหว่างอินเดียและจีน ท�ำให้แว่นแคว้นบ้านเมืองต่างๆ ใน
วิเศษ เพราะดอกไม้บนโลกมนุษย์เบ่งบานเพียงไม่กี่วันก็ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท้ังผืนแผ่นดินใหญ่ คาบสมุทร และ
ร่วงโรยไป แต่ดอกไม้สวรรค์นั้นมีก�ำเนิดมาจากบุญกุศล จึง หมู่เกาะ ล้วนได้รับอารยธรรมจากอินเดียและจีนซ่ึงเจริญมา
บานอยู่ตลอดอายุขยั ของเทวดา ก่อนคละเคล้ากันไป และแม้วัฒนธรรมต้นแบบจากจีนและ
อินเดียจะแข็งแกร่งและยิ่งใหญ่เพียงใด แต่ผู้คนในแถบน้ีก็มี
ดังนั้นในศิลปะของชาวอุษาคเนย์ ดอกโบต๋ันจึงถูกให้ ความฉลาดในการปรับเปลี่ยนสิ่งที่ได้รับมาจากภายนอก จน
ความหมายใหม่ท่ีแตกต่างไปจากในศิลปะจีน คือมีฐานะเป็น เกดิ รปู แบบ หนา้ ท ่ี และความหมายใหม ่ ทเี่ ปน็ เอกลกั ษณข์ อง
“ดอกไม้ทิพย์” ทางพุทธศาสนา ส่ิงนี้เป็นปรากฏการณ์พิเศษ ท้องถนิ่
เฉพาะดนิ แดนอษุ าคเนย ์ เนอ่ื งจากเราจะไมพ่ บดอกไมท้ พิ ยใ์ น
รูปแบบดอกโบต๋ันเช่นน้ีในศิลปะอินเดียหรือศิลปะลังกาเลย ดอกไม้ทิพย์ในรูปลักษณ์ของดอกโบต๋ันยังคงปรากฏ
สืบเน่ืองมาในศิลปะรุ่นหลังด้วย บ้างก็ปรับเปลี่ยนรูปแบบไป
ดอกโบต๋ันในศิลปะของชาวอุษาคเนย์จึงไม่ใช ่ มาก แตก่ ม็ ไี มน่ อ้ ยทย่ี งั สามารถแลเหน็ รอ่ งรอยอยา่ งชดั เจน ดงั
“การลอกเลียนแบบ” ดอกโบตั๋นของศิลปะจีนอย่างฉาบฉวย ลายแกะสลกั ไมร้ ปู เทวดา วหิ ารวดั เชยี งทอง เมอื งหลวงพระบาง
หากแตเ่ ปน็ การนำ� “รปู แบบ” (form) ของดอกโบตน๋ั มาปรบั ใช ้ ก็ล้วนแต่ประดับด้วยดอกไม้ทิพย์ท่ีมีต้นแบบสืบมาจากดอก
ในความหมายและหนา้ ท่ใี หม ่ โบตั๋น
ด้วยท�ำเลที่ต้ังทางภูมิศาสตร์ท่ีเป็นเส้นทางเช่ือมต่อ
(บน) ดอกไมท้ ิพย์ประจ�ำวิมานบนสวรรค์ในรอยพระพทุ ธบาทประดับมุก แสดงดอกไมท้ พิ ยใ์ นรปู แบบของดอกโบต๋ัน
(ซา้ ย) ลายดอกโบตั๋นดอกไมท้ พิ ย์ บนบานประตูไม้แกะสลักรปู เทวดาวหิ ารวัดเชียงทอง เมอื งหลวงพระบาง สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๘ 103