Page 102 - CultureMag2015-3
P. 102
ลายดอกโบต๋นั บนเครื่องถว้ ยจนี
นา่ สนใจวา่ ดอกโบตน๋ั จากจนี ไดข้ า้ มขนุ เขา ปา่ ทบึ และ ในอาณาจกั รกมั พชู าแตโ่ บราณ ปราสาทคอื การจำ� ลอง
ท้องทะเลอันแสนไกล มาแพร่หลายอย่างกว้างขวางในศิลปะ วมิ านของเทพบนสวรรคม์ าประดษิ ฐานบนพน้ื โลก เราพบวา่
ของชาวอษุ าคเนยด์ ว้ ย โดยเฉพาะภาคพนื้ ทวปี ในกลมุ่ คนทม่ี ี ช่างขอมสลักภาพดอกโบตั๋นไว้มากมายตามปราสาทหินสมัย
วัฒนธรรมทางพุทธศาสนา ทั้งนิกายเถรวาทและมหายาน พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ท้ังในเมืองพระนคร และพื้นที่ใกล้เคียง
โดยแต่ละแห่งมีการสร้างความหมายใหม่ให้แก่ดอกโบต๋ัน นบั วา่ นา่ แปลก เพราะรากเหงา้ ของปราสาทขอมหรอื “ปรางค”์
อย่างทไ่ี ม่เคยปรากฏในวัฒนธรรมจีนด้วย น้ันมีที่มาจากศิลปะอินเดีย แต่ช่างขอมกลับเลือกเอาดอก
โบตั๋นจากศิลปะจีนมาประดิดประดอยเป็นดอกไม้ทิพย์บน
ชาวเวียดนามซ่ึงใกล้ชิดกับคนจีนมากกว่าใครใน สรวงสวรรค์ของทวยเทพ
อุษาคเนย์ ด้วยมีพรมแดนติดกับจีนทางด้านทิศเหนือและ
เคยอยู่ใต้การปกครองของจีนมายาวนาน ถึงกับท�ำเครื่อง หลังอาณาจักรกัมพูชาแต่โบราณ ณ เมืองพระนคร
ถ้วยลายครามลายดอกโบตั๋น ในรูปแบบที่ละม้ายกับเครื่อง เส่ือมอ�ำนาจลง ในดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยปัจจุบัน
ลายครามจีนสมัยราชวงศ์หยวน ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๒๐– แวน่ แควน้ ของกลมุ่ คนทใี่ ชภ้ าษาไทย อนั ไดแ้ ก ่ สโุ ขทยั ลา้ นนา
๒๑ และอยุธยา เจริญข้ึนแทนที่ เราพบลวดลายดอกโบตั๋น
เทคนิคแกะลายเส้น บนแผ่นหินชนวนเพดานอุโมงค์วัดศรีชุม
อย่างไรก็ตามเราไม่อาจสรุปง่ายๆ ว่าผู้คนในดินแดน เมืองสุโขทัย อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ในลักษณะของ
อุษาคเนย์เป็นเพียงนักลอกเลียนแบบท่ีปราศจากความคิด ดอกไม้ทิพย์ อยู่ท่ามกลางตัวภาพเทวดาท่ีปรากฏอิทธิพล
ของตนเอง ศิลปะลังกาอยา่ งเตม็ ท่ี
100 วัฒนธ รม