Page 90 - CultureMag2015-2
P. 90

๑                            ๒

ตะลมุ่ ครูตอ้ ย พำนแวน่ ฟ้ำครูแตง                                      ของนายอิม่ เปลีย่ นนามสกุลใหม่เพื่อเป็นเครือ่ งระลึกถึงนาย
                                                                       แจม่ ว่า “แจม่ จริ ารักษ”์  
      ย่านปากคลองแม่น�า้ อ้อม ซึ่งขึ้นกับอา� เภอบางใหญ ่
จงั หวดั นนทบรุ ใี นทุกวนั น ้ี เดมิ เคยมนี ายตอ้ ยและนายแตงเขา้             อาจารย์เสน่ห์เกิดไม่ทนั ทวดแจ่ม จ�าได้แต่ว่าสมัยเด็ก
มาตัง้ รกรากอาศัยอยู่ ไม่มีใครรู้ว่าทงั้ สองมาจากไหน แต่จาก            เคยตามยายกับน้าชายเอาหุ่นพานแว่นฟ้า ๕_ ๑๐ ใบใส่เรือ
วิชาท�าตะลุ่มและพานแว่นฟ้าทีต่ ดิ ตัวมาจึงสันนิษฐานกันว่า              แจวมาขน้ึ ท่ีทา่ นา้� เทเวศร ์ แลว้ นง่ั สามลอ้ ถบี ตอ่ ไปสง่ ขายท่รี า้ น 
คงเป็นเชือ้ สายช่างชาวอยุธยา  นายแจ่มและนางจุ้ยทีต่ ั้ง                สงั ฆภณั ฑย์ า่ นเสาชงิ ชา้  ทางรา้ นรบั ซ้อื ไวเ้ พ่อื หาชา่ งประดบั มกุ
บา้ นเรอื นอยตู่ รงขา้ มฝง่ั คลองเหน็ ชา่ งท้งั สองพายเรอื นา� ตะลมุ่  หรือเขียนลายรดน�า้ ต่อ ก่อนน�ามาวางขายหน้าร้าน  ขากลับ
และพานแว่นฟ้าลงรักด�าขัดมันไปขายอยู่บ่อยครั้ง คิดว่า                   ยายและน้าก็ซื้อหวายจากโรงหวายย่านประตูผีมาใช้ทา� พาน
นา่ จะเปน็ อาชพี เสรมิ จากการทา� สวนไดจ้ งึ ขอเรยี นร ู้  นายตอ้ ย     แว่นฟา้ ชดุ ต่อไป  
นายแตงก็ให้มาดูขณะทา� งาน บอกเพียงว่าจ�าได้แค่ไหนก็เอา
วิชาไปแคน่ ัน้                                                               ความท่อี าจารยเ์ สนห่ เ์ หน็ คนในครอบครวั และเครอื ญาติ 
                                                                       ทา� งานหตั ถศลิ ปม์ าตง้ั แตเ่ กดิ  เคยชว่ ยหยบิ จบั มาแตเ่ ลก็  จงึ ทา�
      นายแจ่มและนางจุ้ยมีทายาทสามคน คือนายอิ่ม                         หุ่นตะลุ่มและพานแว่นฟ้าได้ตัง้ แต่แรกหนุ่ม แต่เมื่อเรียนจบ
นายผิว และนางทรัพย์ ได้สอนวิชานีใ้ ห้ลูกทกุ คนในสกุล                   ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายแลว้ ยงั ไมส่ บใจท่จี ะเลอื กเปน็ อาชพี  
“อุ่นเรือน” และหมู่ญาติใกล้ชิด  ต่อมานายอมิ่ แต่งงานกับ                จึงหันไปเป็นบุรุษไปรษณีย์และพนักงานโรงแรมอยู่หลายปี 
นางเพิ่ม ชาวบางใหญ่ด้วยกัน มีบุตรธิดารวมห้าคน คือ นาย                  กอ่ นวกกลับมาทา� ห่นุ ตะลุ่มอยา่ งจริงจังในวัย ๒๕ ปี
สงั วาล นายวงษ ์ นางสารภ ี นายทว ี และนายการะเวก  วชิ าน้ี
จึงสืบทอดมาถึงชัน้ หลาน  เมื่อถึงรุ่นเหลน คือนายเสน่ห์                 ชบุ ชวี ิต “เตยี บ”
บตุ รชายนางสารภี การท�าตะล่มุ และพานแวน่ ฟา้ จงึ ไดพ้ ัฒนา
รูปแบบใหมๆ่  ขึ้น                                                            การทา� หุ่นตะลุ่มใช้เพียงหวาย ส่วนพานแว่นฟ้านัน้  
                                                                       ตอ้ งใชไ้ มเ้ นอ้ื เบา เชน่ ไมท้ องหลางเปน็ สว่ นประกอบ โดยเหลา
                                                                       ไม้รวกเป็นหมุดยึด ตามร้านสังฆภัณฑ์ พานแว่นฟ้าขายได้
                                                                       เรือ่ ยๆ เพราะมีคนมาหาไปวางผ้าไตรในงานบวช งานกฐิน 
เสน่ห์ แจ่มจริ ำรักษ์ : ผสู้ บื ทอด                                    หรอื งานท�าบญุ อ่นื ๆ 

      อาจารย์เสน่ห์ แจ่มจิรารักษ์ เกิดเมือ่ ปี ๒๔๘๖ เป็น                     เมอ่ื ทา� หนุ่ ตะลมุ่ และพานแวน่ ฟา้ เปน็ อาชพี ไดส้ กั ระยะ 
หลานทวดแจ่ม ผู้บุกเบิกวิชางานศิลป์ขึน้ ในตระกูล  อาจารย ์              วันหนึง่ น้าชายมาเล่าให้ฟังว่าอาจารย์ผู้ใหญ่ผู้เชีย่ วชาญงาน
เล่าว่าน้องชายทวดแจ่มทีเ่ ป็นผู้พิพากษาแนะให้ครอบครัว                  ศิลป์ระดับประเทศท่านหนึ่งก�าลังหาคนท�า “เตียบ” ท่านพา

88 วฒั นธ รม
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95