Page 43 - CultureMag2015-2
P. 43

ครง้ั ท่พี ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็      สะดุดใจกับชือ่  “บ้านคุก” ซึง่ เพิง่ ได้ยินเป็นครั้งแรก และ
ประพาสเมอื งเกา่ สโุ ขทยั ในป ี ๒๔๕๐ ทรงพบวา่ รปู ขอมด�าดนิ           ประกาศในทีป่ ระชุมนั้นว่า ชือ่ บ้านนามเมืองช่างไม่เป็นมงคล 
นัน้ ปรากฏอยู่ทฐี่ านพระเจดีย์รายหน้าซุ้มพระอัฏฐารศทาง                เพราะเกีย่ วข้องกับคุกตะราง และเสนอว่าจะให้เปลี่ยนชือ่  
ทศิ ใต้ ทรงกล่าวไว้ในหนังสือ เทีย่ วเมืองพระร่วง ว่า ยัง              เสียใหมใ่ ห้เป็นมงคลนาม 
มองเห็นเป็นรูปมนๆ คล้ายๆ หัวไหล่คน ถ้าแม้ต่อศีรษะเข้า 
ก็พอจะดูคล้ายรูปคนโผล่ขึน้ มาจากดินเพียงหน้าอก  ต่อมา                        ผู้น�าเจ้าของชุมชนนั้นลุกขึน้ ยืนคัดค้านอย่างแข็งขัน 
สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดา� รงราชานภุ าพ โปรดใหย้ า้ ย “ขอมดา� ดนิ ”         ว่าชือ่ บ้านคุกนั้นไม่ได้มาจากคุกตะราง แต่เป็นมงคลนาม
ท่ีเหลอื ขนาดเลก็ ลงเรอ่ื ยๆ (เน่อื งจากมคี นแอบกะเทาะเอาไป           เพราะมาจากต�านานความรักของพระร่วงทีต่ ามหานางผู้เป็น
ท�ายาและเครื่องรางอยู่เสมอ) น�าไปรักษาไว้ทศี่ าลากลาง                 ทีร่ ัก แต่ด้วยความรีบร้อนจึงไปสะดุดตอไม้ท ี่ “บ้านแสนตอ” 
จังหวัดสุโขทยั  จนปี ๒๔๙๖ เมือ่ มีการสร้างศาลพระแม่ย่า                กอ่ นท่จี ะลม้ คกุ เขา่ ลงดว้ ยความเหนอ่ื ยออ่ น “บา้ นคกุ ” จงึ เปน็
จึงได้ย้ายมารวมเข้าไว้ด้วยกัน ก่อนที่ “ขอมด�าดิน” จะกลาย              รอ่ งรอยประทบั ของวรี บรุ ษุ ทางวฒั นธรรมท่ีพวกเขาภาคภมู ใิ จ
มาเป็น “วัตถุโบราณ” เพื่อการจัดแสดงทีพ่ ิพิธภัณฑสถาน 
แห่งชาต ิ รามค�าแหง จงั หวัดสุโขทัย เช่นทุกวันน้ี                           พระร่วง คือ “จิตวิญญาณของพืน้ ที่” ของ 
                                                                      เมืองสุโขทัย และด้วยความสัมพันธ์อันลึกซึ้งเช่นนี้
       พระร่วงจบชีวิตลงโดยจมหายลงไปตรงบริเวณแก่ง                      เทา่ นน้ั  ทจ่ี ะสรา้ งความเขม้ แขง็ อยา่ งยง่ั ยนื ใหแ้ กช่ มุ ชน
หลวงซึง่ เป็นช่วงกระแสน�้าเชี่ยวของล�าน้�ายม (อยู่บริเวณ              ได้อย่างแท้จรงิ   
อุทยานประวตั ิศาสตรศ์ รสี ชั นาลยั ) โดยชาวบา้ นเชอ่ื วา่ พระรว่ ง
กลบั ไปหามารดาในนาคพภิ พ                                              อา้ งอิง
                                                                      คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารจดหมายเหตุฯ. วัฒนธรรม 
       ต�านานเรือ่ งพระร่วงและสถานทขี่ องเมืองสุโขทัยจึง                พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัด 
เชอ่ื มโยงกนั ไดอ้ ยา่ งสนทิ  พระรว่ งคอื จติ วญิ ญาณของพ้นื ท่ขี อง    สโุ ขทยั . กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๔.
เมืองสุโขทัยทฝี่ ังรากลึกและแตกดอกออกผลต่อมาอย่างไม่                  ตร ี อมาตยกลุ . นา� เท่ียวเมอื งสโุ ขทยั . พระนคร : โรงพมิ พร์ งุ่ เรอื งธรรม, 
ขาดสาย นบั ต้ังแตง่ านวรรณกรรมเชงิ ปรชั ญาช้นั เยย่ี มท่ียกยอ่ ง        ๒๔๙๗.
ให้เป็น ไตรภูมิพระร่วง สุภาษิตพระร่วง มาตั้งแต่อดีต จนมา              ธดิ า สาระยา. เมอื งศรีสชั นาลยั . กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ. ๒๕๓๗.
ถึงอาหารขึ้นชื่อ “ข้าวเปิ๊บ” ของชุมชนบ้านนาต้นจั่น อ�าเภอ             ศิลปากร, กรม, น�าชมโบราณวัตถุสถาน จังหวัดสุโขทยั . พระนคร : 
ศรีสัชนาลัย ทรี่ ู้จักกันในบรรดานักท่องเทีย่ วว่า “ก๋วยเตีย๋ ว          กรมการศาสนา, ๒๕๑๒.
พระรว่ ง”

       เล่ากันว่ามีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ย้ายมาประจ�าอยู่ท่ี
จังหวัดสุโขทัย หลังจากทีเ่ รียกประชุมผู้น�าจากหมู่บ้านต่างๆ
ของจังหวัดสุโขทัยเป็นครัง้ แรก  ข้าราชการชัน้ ผู้ใหญ่ท่านนัน้

                                                                      เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๘ 41
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48