Page 48 - CultureMag2015-2
P. 48

แขง่ เรือในสยาม                                                               เข้าสู่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยพระบาทสมเด็จ
จากความเชื่อส่กู ารแข่งขัน                                              พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั  รชั กาลท่ี ๒ เมอ่ื มกี ารสรา้ ง “สวนขวา” 
                                                                        ภายในพระบรมมหาราชวังเมือ่ ปี ๒๓๖๑ ก็โปรดเกล้าฯ ให ้
      ในกรณสี ยาม การแข่งเรือปรากฏหลกั ฐานลายลักษณ์                     มีการแข่งเรือในสระนั้น  หรือในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ 
อักษรเก่าทีส่ ุดคือกฎมณเฑียรบาลของอยุธยา ทีก่ ล่าวถึง                   พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที ่ ๕ ก็มีการจัดแข่งเรือ 
พระราชพิธ ี “อาษยุชพิธ”ี  ทจี่ ัดขึ้นในเดือน ๑๑ ซึง่ จะมีการ            ให้พระราชอาคันตุกะ คือมกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิรัสเซีย 
แขง่ เรอื ดว้ ย  ลาลแู บร ์ ราชทูตชาวฝรง่ั เศสท่ีเขา้ มายงั ราชสา� นกั  (ตอ่ มาคอื พระเจา้ ซาร์นโิ คลัสท ่ี ๒) ทอดพระเนตร 
ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช บันทกึ ว่าในการแข่งเรือนีม้ ี
การพนนั ขนั ตอ่ ปะปนอยดู่ ว้ ย และไดร้ บั ความนยิ มเปน็ อยา่ งมาก             ปัจจุบันการแข่งเรือถือเป็นกีฬาทีป่ รากฏในท้องถิน่
                                                                        หลายแห่งและมีกระจายอยู่ทกุ ภาค  การแข่งเรือเป็นไปเพือ่
      ในราชส�านักกรุงศรีอยุธยา พิธีกรรมคือเวทที กี่ ษัตริย ์            การกุศลในเทศกาลทางศาสนา เชน่  ทอดกฐิน ทอดผ้าปา่  ใน
ใชแ้ สดงบญุ ญาบารม ี เชน่ นา� เรอื ไปทา� พธิ ีกลางหว้ งนา้� ดว้ ยการ    เดอื น ๑๐-๑๒ ซง่ึ เปน็ ฤดนู ้�าหลาก  ประชาชนจะใชเ้ รอื ในการ
เห่กล่อมแม่น�้า ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นเห่เรือ (เชือ่ กันว่าเป็น             สญั จรและนา� องคก์ ฐนิ และผา้ ปา่ ไปถวายวดั   หลงั จากนน้ั จงึ มี
การเห่กล่อมแม่ย่านางเรือ) พัฒนาเป็นการพายเรือตามน�า้                    การแข่งเรือกันโดยเชื่อว่าผู้เข้าแข่งขันจะได้บุญ  บางท้องทกี่ ็ 
เพือ่  “ไล่น�า้ ” ให้ลดอย่างรวดเร็ว  ต่อมาจึงกลายเป็นการ                จัดให้มีการแข่งเรือในงานไหว้พระประจ�าปี ในงานบวงสรวง 
“แข่งเรือ” เพื่อเสี่ยงทายว่าน�้าจะลดหรือไม่ โดยผู้ทีเ่ ข้าแข่งขัน       สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของท้องถิน่  ในงานเทศกาลรืน่ เริงอื่นๆ โดย 
คอื บรรดาขุนนางในราชสา� นกั                                             ส่วนมากจะจัดในฤดูน�า้ มากเท่านัน้  และเป็นประเพณีทีม่ ี
                                                                        กระจายแทบทกุ จังหวัด 

             เรือแขง่ ในเทศกำลบญุ สว่ งเฮอื  ๑๑ ค่ำ�  เดือน ๑๑ แมน่ ำ้� โขง นครหลวงเวียงจันทน ์ (ภาพ : สมสง่า ยาบ้านแป้ง)

46 วัฒนธ รม
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53