Page 32 - CultureMag2015-2
P. 32

“ผา้ ขาวมา้ หา้ ส”ี  (แดง เหลอื ง สม้  เขยี ว ขาว) ชาวลพบรุ  ี (โดย      นยิ มทอลายตารางสแี ดง-ด�า หรอื เขยี วเขม้   ชาวมหาสารคาม 
เฉพาะอา� เภอบ้านหมี่ ผลิตกันมากจนนับเป็นแหล่งใหญ่ทสี่ ุด                 (โดยเฉพาะบ้านหนองหิน) นิยมทอด้วยมือและใช้สีธรรมชาติ 
ของประเทศ) นิยมทอด้วยใยสังเคราะห์ ลวดลายไส้ปลาไหล                        ชาวขอนแก่นนิยมทอลายหมี่กงอันเก่าแก่ วิจิตรตาด้วยการ
กับลายตาม่อง  ส่วนชาวราชบุรีนิยมทอลายหมากรุกกับลาย                       ผสมผสานสมี ่วง-แดง-เขียว และทอแบบสามตะกอให้เน้ือผ้า
ตาปลา เปน็ ตน้                                                           หนาแน่น  ชาวอุดรธานี (โดยเฉพาะชุมชนดอนอีไข) นิยม 
                                                                         ทอลายขัดพนื้  ดว้ ยด้ายสีขาว-ดา�  เป็นต้น
      ทภี่ าคอสี านนิยมทอลายตารางเล็กด้วย “กีก่ ระตุก” 
และทอยาวคราวละ ๒๐ - ๓๐ เมตร ค่อยตัดแบ่งผืนละ ๑ วา                              ขณะทภี่ าคเหนือจะนิยมทอด้วยฝ้าย ย้อมสีด้ายจาก
คนอสี านบางถิ่นจึงเหมาเรียกผ้าขาวม้าว่า “แพรวา” (มาจาก                   เปลือกไม้กลัด ประดู่ มะเกลือ ใบสัก เป็นต้น และทอลาย 
คา� วา่ ผา้  และความยาวของผา้ )  แพรขาวมา้ ของอสี านนยิ มทอ              ตารางหมากรุกโดยเพิม่ เทคนิคการ “จก” ลวดลายสัตว์บน 
เปน็ สเ่ี หลย่ี มจตั ุรสั คลา้ ยตารางหมากรกุ  โดดเดน่ ท่ีลายไสป้ ลาไหล   ชายผ้า  เรียกว่า “ผ้าขาวม้ามีเชิง”  ชาวแพร่นิยมจกลายนก 
กับลายเครือลิ้นแลน ชาวศรีสะเกษนิยมทอด้วยฝ้าย (โอกาส                      ชา้ ง มา้  ฯลฯ สว่ นชาวนา่ นนยิ มจกลายสตั วแ์ ละเพม่ิ ลายเจดยี  ์
พิเศษจึงใช้ไหม) ปรกติใช้ด้ายสองสามสีขัดเป็นลายตาราง                      กับลายยกดอกบ้าง สมัยก่อนนิยมทอสีแดง-ดา�  ปัจจุบันนิยม
หมากรุก  ชาวสุรินทร์ (โดยเฉพาะในอ�าเภอเขวาสินรินทร์)                     ทอสเี ขยี ว ฟา้  หรอื น้า� ตาล

30 วฒั นธ รม
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37